กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการร่วมพลังชุมชนขจัดยุงลาย
รหัสโครงการ 64-L5302-2-2
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่2 บ้านควนโพธิ์
วันที่อนุมัติ 18 พฤศจิกายน 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 18 พฤศจิกายน 2563 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 72,658.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ 1.นายเจ๊ะราเหม เหมโคกน้อย 2.นางสุรัตนา สง่าบ้านโคก 3.นายสมควร หนูชูสุข
พี่เลี้ยงโครงการ นายสอด บูเก็ม
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลควนโพธิ์ อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 6.769,100.018place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานยาสูบ , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 5900 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด(คน)
5.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด

ร้อยละของการแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด(คน)

5.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. จัดทำบันทึกข้อความขออนุมัติจัดทำโครงการ
  2. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติดำเนินการ
  3. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินโครงการ
  4. ดำเนินโครงการ กิจกรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แกนนำชุมชน รวมทั้งสิ้น 80 คน ได้แก่ -คณะทีมพ่นหมอกควัน 21 คน
    -แกนนำอสม.แต่ละหมู่บ้านหมู่ละ 3 คนรวม 21 คน
    -ผู้นำชุมชน 21 คน
    -ผู้นำศาสนาแต่ละหมู่บ้าน 7 คน
    -ประชาชนทั่วไป 10 คน กิจกรรมรณรงค์โครงการในชุมชน
    -กิจกรรมการรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน 7 หมู่บ้านโดยเจ้าหน้าที่อาสาสมัครสาธารณสุข
    -กิจกรรมมอบทรายเคลือบเทมีฟอส 1% ขนาดซองละ50กรัม พร้อมหยอดทรายในแหล่งน้ำ -กิจกรรมให้ความรู้โดยใช้สื่อแผ่นพับและสำรวจลูกน้ำยุงลายในชุมชน -กิจกรรมปรับภูมิทัศน์รอบบ้านให้สะอาดพร้อมคว่ำภาชนะที่มีน้ำขัง
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. อัตราป่วยและเสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง
  2. ยุงลายตัวแก่และลูกน้ำยุงลายถูกทำลายอย่างต่อเนื่อง
  3. ประชาชนมีความตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก
  4. ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมรณรงค์ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 พ.ย. 2563 14:32 น.