กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก


“ โครงการหนุ่มสาวเทศบาลโก-ลก "ลดน้ำหนัด ลดโรค" หล่อสวยสุขภาพดี ใน 90 วัน ”

ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวพนิดา แดงศรี

ชื่อโครงการ โครงการหนุ่มสาวเทศบาลโก-ลก "ลดน้ำหนัด ลดโรค" หล่อสวยสุขภาพดี ใน 90 วัน

ที่อยู่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L6961-1-02 เลขที่ข้อตกลง 12/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 30 เมษายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนุ่มสาวเทศบาลโก-ลก "ลดน้ำหนัด ลดโรค" หล่อสวยสุขภาพดี ใน 90 วัน จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนุ่มสาวเทศบาลโก-ลก "ลดน้ำหนัด ลดโรค" หล่อสวยสุขภาพดี ใน 90 วัน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนุ่มสาวเทศบาลโก-ลก "ลดน้ำหนัด ลดโรค" หล่อสวยสุขภาพดี ใน 90 วัน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L6961-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 30 เมษายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะน้ำหนักเกินหรือโรคอ้วนเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขทั้งของไทยและทั่วโลก เนื่องจาก ภาวะน้ำหนักเกินเป็นปัจจัยเสี่ยงของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น กลุ่มโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ซึ่งทวีความรุนแรงและเป็นภัยคุกคามสุขภาพที่มีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างน่าวิตก โรคอ้วนเป็นโรคที่พบบ่อยตั้งแต่วัยเด็กจนถึงวัยผู้สูงอายุ เมื่อเราอ้วน นอกจากจะทำให้บุคลิกภาพไม่ดึงดูดและไม่น่าสนใจแล้ว ยังมีผลเสียต่อสุขภาพของเรา เพราะเป็นสาเหตุในการเกิดโรคต่างๆมากมาย เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคกระดูก เป็นต้น ซึ่งการออกกำลังกายเป็นวิธีหนึ่งที่ช่วยขจัดความอ้วน เมื่อร่างกายใช้พลังงานมากกวาปริมาณอาหารที่ได้รับ ร่างกายจะนำไขมันส่วนเกินที่เก็บสะสมเอาไว้มาเปลี่ยนเป็นพลังงานในการออกกำลังกาย ทำให้น้ำหนักลดลง การออกกำลังกายยังมีผลดีระยะยาว ทำให้สุขภาพทางร่างกายและจิตใจดี บุคลิกดี เป็นที่ดึงดูดใจของผู้คนที่พบเห็น ทำให้คล่องแคล่วว่องไว และลดสาเหตุในการเกิดโรคต่างๆอีกมากมาย
รายงานขององค์การอนามัยโลกในปี พ.ศ. 2559 ระบุ ว่าประชากรทั่วโลกที่อายุมากกว่า 18 ปี ร้อยละ 39 มีภาวะน้ำหนักเกิน (BMI > 25) โดยที่ในประเทศไทยนั้น จากรายงานการสำรวจสุขภาพของประชากรไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2557 พบว่า ผู้หญิงร้อยละ 41.8 และผู้ชายร้อยละ 32.9 มีภาวะน้ำหนักเกิน (BMI > 25) พบความชุกของภาวะน้ำหนักเกินของผู้ชายใน กทม. มากที่สุด ส่วนของผู้หญิงพบในภาคกลางมากที่สุด ปัจจุบัน องค์การอนามัยโลกได้ปรับเกณฑ์ดัชนีมวลกายของชาวเอเชียแล้ว (ดัชนีมวลกายของคนเอเชีย ≥ 23 จะถือว่ามีน้ำหนักเกินเกณฑ์ และหากดัชนีมวลกาย > 30 จะถือว่าเป็นโรคอ้วน) แต่ยังไม่มีการสำรวจสัดส่วนของประชากรไทยที่น้ำหนักเกิน โดยอิงเกณฑ์นี้ ปัจจัยเสี่ยงของภาวะน้ำหนักเกินในประเทศไทยที่พบมากขึ้น ส่วนหนึ่งเกิดมาจากการปรับเปลี่ยนวิถีการดำเนินชีวิตในสังคมที่เป็นแบบตะวันตกมากขึ้น อาหารที่ให้พลังงานสูง เทคโนโลยีที่สะดวกสบายมากขึ้น การทำงานที่ ใช้การเคลื่อนไหวทางร่างกายลดลง สังคมการทำงานที่มีการแข่งกันสูงมากขึ้น ทำให้เกิดความเครียด การทำงานกลางคืน ต่างก็เป็นปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดภาวะน้ำหนักเกินได้ทั้งสิ้น
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เป็นหน่วยงานที่มีอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับการดำเนินงานให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของกฎหมายที่ว่าด้วยการสาธารณสุขและ สิ่งแวดล้อม รวมไปถึงกิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพ และให้บริการเผยแพร่ความรู้ทางด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และได้เล็งเห็นถึงปัญหาสุขภาพของบุคลากรในหน่วยงาน ซึ่งส่วนใหญ่จะมีภาวะน้ำหนักเกิน จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดจำนวนผู้ที่มีดัชนีมวลกาย (BMI) เกินเกณฑ์มาตรฐาน ให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานหรือเข้าใกล้เกณฑ์มาตรฐานมากที่สุด
  2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องการลดน้ำหนักที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่อง "ลดน้ำหนักอย่างไร ให้หล่อสวยสุขภาพดี"
  2. กิจกรรมแอโรบิค "ลดน้ำหนัก ลดโรค"

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 200
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีดัชนีมวลกาย (BMI) ลดลง
  2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องการลดน้ำหนักที่ถูกต้อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้เรื่อง "ลดน้ำหนักอย่างไร ให้หล่อสวยสุขภาพดี"

วันที่ 23 ธันวาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ค่าตอบแทนวิทยากร 7200 บาท ค่าอาหารกลางวัน  10000 บาท ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  10000 บาท ค่าตอบแทน อสม.  1000 บาท ค่าวัสดุอุปกรณ์  4000 บาท ค่าป้ายโครงการ  1200 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รับความรู้จากการอบรม เรื่อง การลดน้ำหนัก

 

0 0

2. กิจกรรมแอโรบิค "ลดน้ำหนัก ลดโรค"

วันที่ 23 ธันวาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ค่าตอบแทนผู้นำเต้น  6000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ช่วยให้ร่างกายแข็งแรง ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดจำนวนผู้ที่มีดัชนีมวลกาย (BMI) เกินเกณฑ์มาตรฐาน ให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานหรือเข้าใกล้เกณฑ์มาตรฐานมากที่สุด
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีดัชนีมวลกาย (BMI) ลดลงร้อยละ 50
0.00 0.00

 

2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องการลดน้ำหนักที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีน้ำหนักลดลงได้ตามเกณฑ์มาตรฐานหรือเข้าใกล้เกณฑ์มาตรฐานมากที่สุดร้อยละ 30
0.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 200
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนผู้ที่มีดัชนีมวลกาย (BMI) เกินเกณฑ์มาตรฐาน ให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานหรือเข้าใกล้เกณฑ์มาตรฐานมากที่สุด (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องการลดน้ำหนักที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่อง "ลดน้ำหนักอย่างไร ให้หล่อสวยสุขภาพดี" (2) กิจกรรมแอโรบิค "ลดน้ำหนัก ลดโรค"

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหนุ่มสาวเทศบาลโก-ลก "ลดน้ำหนัด ลดโรค" หล่อสวยสุขภาพดี ใน 90 วัน จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L6961-1-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวพนิดา แดงศรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด