กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน


“ โครงการพัฒนาศักยภาพ ร่วมมือ ร่วมใจ ลด ละ เลิก ยาสูบ บุหรี่ สุรา และสารเสพติด เพื่อชุมชนสุขภาพดี มีสุข ปี 2564 ”

จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายซอหมาด บาหลัง

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพ ร่วมมือ ร่วมใจ ลด ละ เลิก ยาสูบ บุหรี่ สุรา และสารเสพติด เพื่อชุมชนสุขภาพดี มีสุข ปี 2564

ที่อยู่ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L8406-01-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพ ร่วมมือ ร่วมใจ ลด ละ เลิก ยาสูบ บุหรี่ สุรา และสารเสพติด เพื่อชุมชนสุขภาพดี มีสุข ปี 2564 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพ ร่วมมือ ร่วมใจ ลด ละ เลิก ยาสูบ บุหรี่ สุรา และสารเสพติด เพื่อชุมชนสุขภาพดี มีสุข ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพ ร่วมมือ ร่วมใจ ลด ละ เลิก ยาสูบ บุหรี่ สุรา และสารเสพติด เพื่อชุมชนสุขภาพดี มีสุข ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 64-L8406-01-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 40 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

บุหรี่เป็นสาเหตุการตายที่สำคัญทางประชากรโลก องค์การอนามัยโลกรายงานว่าประชากรโลกเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ ปีละ 4 ล้านคน บุหรี่เป็นสาเหตุการตายของโรคมะเร็งปอด โรคหลอดเลือดและหัวใจ โรคถุงลมโป่งพอง และเส้นโลหิตในสมองแตกหรือตีบ ในประเทศไทยบุหรี่เป็นสาเหตุการตายของคนไทยปีละ 42,000 คน เฉลี่ยวันละ 115 คน (มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ ,2544) บุหรี่นอกจากจะทำลายสุขภาพแล้ว ยังทำให้ประชาชนสูญเสียรายได้ แม้มีการรณรงค์เรื่องการเลิกสูบบุหรี่ที่ทำให้คนไทยตื่นตัว เห็นถึงอันตรายของการสูบบุหรี่กับสุขภาพ แต่ก็พบว่าจำนวนผู้สูบบุหรี่มีมากขึ้น จากการสำรวจปี 2542 พบว่ามีผู้สูบบุหรี่ 10.2 ล้านคน หรือร้อยละ 20 (มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ ,2544) และพบว่ามีผู้สูบบุหรี่เพิ่มขึ้นมาเป็น 11.3 ล้านคน หรือร้อยละ 23 ของประชากรไทย (สำนักงานสถิติแห่งชาติ ,2547) ปัญหาการสูบบุหรี่ในประเทศไทยทวีความรุนแรง โดยเฉพาะอายุของนักสูบหน้าใหม่ที่ลดน้อยลงและมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งการสูบบุหรี่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ส่งผลกระทบทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม อย่างกว้างขวาง และเป็นสาเหตุสำคัญของการเจ็บป่วยและเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ทำให้รัฐต้องเสียค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาเป็นจำนวนมากจากข้อมูลการสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่และการดื่มสุราของประชากร พ.ศ.2557 ของสำนักงานสถิติแห่งชาติพบว่า ประเทศไทยมีผู้สูบบุหรี่จำนวน 11.4 ล้านคนอัตราการสูบบุหรี่ในประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปร้อยละ 20.7 ต่อประชากรพันคนอยู่ในกลุ่มอายุ 25 - 59 ปี ซึ่งเป็นกลุ่มวัยทำงานมากที่สุดร้อยละ 23.5 รองลงมาคือกลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป ร้อยละ 16.6และกลุ่มอายุ 15 - 24 ปีร้อยละ 14.7 ตามลำดับ เป็นผู้ชายร้อยละ 40.5 และผู้หญิงร้อยละ 2.2 โดยสูบบุหรี่จากโรงงานอย่างเดียวมากที่สุด 5.3 ล้านคน รองลงมาคือบุหรี่มวนเอง 4.2 ล้านคน และทั้งบุหรี่โรงงาน/บุหรี่มวนเอง 1.9 ล้านคนและมีคนไทยได้รับควันบุหรี่มือสองในบ้านร้อยละ 28.1 มีนักสูบหน้าใหม่เกิดขึ้นราว 2 - 3 แสนคนต่อปีคนไทยเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ปีละประมาณ 52,000 คน เฉลี่ยวันละ 142 คน ชั่วโมงละ 6 คนและเสียชีวิตจากโรคที่เกิดจากบุหรี่ร้อยละ 12 ของการตายทั้งหมดผู้ที่สูบบุหรี่มีโอกาสตายด้วยโรคมะเร็งมากกว่าผู้ไม่สูบบุหรี่ 20 เท่า ที่สำคัญ 1 ใน 4 เป็นเด็กเล็กที่ตายเพราะได้รับควันบุหรี่มือสองหากการควบคุมการบริโภคยาสูบไม่เข้มแข็งจะมีการตายด้วยโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ถึง 8 ล้านคนใน 20 ปีข้างหน้า การรณรงค์เพื่อป้องกันและลดจำนวนผู้สูบบุหรี่ รวมทั้งการช่วยเหลือสนับสนุนให้ผู้สูบบุหรี่เลิกสูบบุหรี่ได้สำเร็จ จึงเป็นเป้าหมายหลัก ที่จะช่วยลดอัตราความเจ็บป่วย และการตายจากโรคที่มีสาเหตุจากการสูบบุหรี่ การเลิกสูบบุหรี่เป็นสิ่งที่บุคคลต้องใช้ความพยายาม และความตั้งใจ ต้องอาศัยการสนับสนุนจากบุคลากรสุขภาพเพื่อช่วยเลิกบุหรี่ได้สำเร็จ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนโดน จึงเล็งเห็นถึงความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคจากบุหรี่ จึงผลักดันให้เกิดความร่วมมือ ทีมหมอครอบครัวระดับตำบลและชุมชน ภายในตำบลควนโดน อำเภอควนโดน ภายใต้แผนงานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป้าหมาย คือ การลดปัจจัยเสี่ยงและลดโรควิถีชีวิตในประชาชน กลวิธีสำคัญคือ กลุ่มเสี่ยง จะเน้นให้คำปรึกษา ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเรื่องการสูบบุหรี่เพื่อป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อ ป้องกันไม่ให้ป่วย และติดตามเป็นระยะๆ การส่งเสริมศักยภาพชุมชนให้เข้มแข็ง สามารถจัดการปัญหาสุขภาพของตนเองได้ และเชื่อว่าจะสามารถลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรค ลดนักสูบรายใหม่ สร้างสังคมปลอดควัน ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนไปจนถึง ลดการเสียชีวิต และการสูญเสียทางเศรษฐกิจลงได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. พัฒนาการมีส่วนร่วมและศักยภาพของท้องถิ่นในการพัฒนากระบวนการควบคุมการสูบบุหรี่และการดื่มสุราในชุมชน
  2. 2. สร้างสิ่งแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อการสูบบุหรี่ในชุมชน
  3. 3.ลดจำนวนผู้สูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน และได้บุคคลต้นแบบในการเลิกบุหรี่ ของแต่ละหมู่บ้าน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. พัฒนาการมีส่วนร่วมและศักยภาพในการพัฒนากระบวนการควบคุมการสูบบุหรี่ และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชนโดยชุมชน
  2. 2. สร้างสิ่งแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อการสูบบุหรี่/การจัดสถานที่สาธารณะปลอดบุหรี่
  3. 3.ลดจำนวนผู้สูบบุหรี่ในชุมชน และได้บุคคลต้นแบบในการเลิกบุหรี่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.มีการพัฒนา การมีส่วนร่วมและศักยภาพของท้องถิ่นในการพัฒนากระบวนการควบคุมการสูบบุหรี่และการดื่มสุราในชุมชน 2.มีการสร้างสิ่งแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อการสูบบุหรี่ในชุมชน 3.มีการลดจำนวนผู้สูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน และได้บุคคลต้นแบบในการเลิกบุหรี่ ของแต่ละหมู่บ้าน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. พัฒนาการมีส่วนร่วมและศักยภาพของท้องถิ่นในการพัฒนากระบวนการควบคุมการสูบบุหรี่และการดื่มสุราในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.1 เกิดคณะกรรมการดำเนินโครงการที่ครอบคลุมผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของชุมชน จำนวน..40..คน 1.2 คณะกรรมการมีความสามารถในการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาการสูบบุหรี่ในชุมชน 1.3 เกิดแผนปฏิบัติและการดำเนินงานควบคุมยาสูบตามแผนโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน 1.4 คณะกรรมการมีส่วนร่วมในการติดตามกำกับและสรุปบทเรียนการดำเนินงาน
80.00 80.00

 

2 2. สร้างสิ่งแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อการสูบบุหรี่ในชุมชน
ตัวชี้วัด : 2.1 สถานที่ที่เป็นพื้นที่ห้ามสูบบุหรี่มีการติดป้ายสัญลักษณ์ ร้อยละ 90 2.2 มีกลไก/อาสาสมัครในการติดตาม ตรวจตราการจัดสถานที่ปลอดบุหรี่ 2.3 ร้านค้า ร้อยละ100 ได้รับความรู้และมีความเข้าใจในเรื่องกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับบุหรี่และให้ความร่วมมือในการปฏิบัติตามกฎหมาย
90.00 90.00

 

3 3.ลดจำนวนผู้สูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน และได้บุคคลต้นแบบในการเลิกบุหรี่ ของแต่ละหมู่บ้าน
ตัวชี้วัด : 3.1 ผู้สูบบุหรี่ได้เข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับโทษ พิษภัยของการสูบบุหรี่ อย่างน้อยร้อยละ 50 3.2 ผู้สูบบุหรี่สนใจเข้าร่วมโครงการ และอยากลด ละ เลิกสูบบุหรี่ใน 6 เดือนอย่างน้อยร้อยละ 50 3.3 ลดจำนวนผู้สูบบุหรี่ 3.3.1 มีผู้เลิกสูบบุหรี่ (6 เดือนขึ้นไป) จำนวน 8 คน 3.3.2 มีผู้ลด/ละการสูบบุหรี่ จำนวน 40 คน 3.3.3 เกิดบุคคลต้นแบบในการเลิกบุหรี่อย่างน้อยหมู่บ้านละ 1 คน
50.00 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. พัฒนาการมีส่วนร่วมและศักยภาพของท้องถิ่นในการพัฒนากระบวนการควบคุมการสูบบุหรี่และการดื่มสุราในชุมชน (2) 2. สร้างสิ่งแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อการสูบบุหรี่ในชุมชน (3) 3.ลดจำนวนผู้สูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน และได้บุคคลต้นแบบในการเลิกบุหรี่ ของแต่ละหมู่บ้าน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. พัฒนาการมีส่วนร่วมและศักยภาพในการพัฒนากระบวนการควบคุมการสูบบุหรี่ และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชนโดยชุมชน (2) 2. สร้างสิ่งแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อการสูบบุหรี่/การจัดสถานที่สาธารณะปลอดบุหรี่ (3) 3.ลดจำนวนผู้สูบบุหรี่ในชุมชน และได้บุคคลต้นแบบในการเลิกบุหรี่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพ ร่วมมือ ร่วมใจ ลด ละ เลิก ยาสูบ บุหรี่ สุรา และสารเสพติด เพื่อชุมชนสุขภาพดี มีสุข ปี 2564 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L8406-01-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายซอหมาด บาหลัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด