กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน


“ โครงการคนควนโดนสุขภาพดี มี อสม. หมอประจำบ้าน ดูแลใส่ใจทุกกลุ่มวัย ประจำปี 2564 ”

จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายก็หลัด บินหมาน

ชื่อโครงการ โครงการคนควนโดนสุขภาพดี มี อสม. หมอประจำบ้าน ดูแลใส่ใจทุกกลุ่มวัย ประจำปี 2564

ที่อยู่ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L8406-02-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคนควนโดนสุขภาพดี มี อสม. หมอประจำบ้าน ดูแลใส่ใจทุกกลุ่มวัย ประจำปี 2564 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคนควนโดนสุขภาพดี มี อสม. หมอประจำบ้าน ดูแลใส่ใจทุกกลุ่มวัย ประจำปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคนควนโดนสุขภาพดี มี อสม. หมอประจำบ้าน ดูแลใส่ใจทุกกลุ่มวัย ประจำปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 64-L8406-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลควนโดน ได้เล็งเห็นความสำคัญในการส่งเสริมให้ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ ด้วยการลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค และปรับเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการสร้างเสริมสุขภาพให้ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย1. กลุ่มเด็ก 0-5 ปี2. กลุ่มสตรีมีครรภ์3. กลุ่มป่วยด้วยโรคเรื้อรัง 4. กลุ่มผู้พิการและผู้ป่วยจิตเวช 5. กลุ่มผู้สูงอายุติดเตียง ติดบ้าน และ 6. กลุ่มผู้ด้อยโอกาส ในชุมชน อย่างถูกต้องและต่อเนื่อง และให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม เพื่อเข้าไปดูแลและจัดการให้บริการสุขภาพเชิงรุกในชุมชน และ การส่งเสริมให้ประชาชนได้รับบริการสุขภาพที่จำเป็น อย่างเสมอภาคเป็นธรรมนั้น การที่จะบรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว กลยุทธ์หนึ่งที่สำคัญ คือการมีหมอประจำครอบครัว เพื่อให้ทุกครัวเรือนมีญาติเป็นหมอและสามารถพึ่งพาได้ทุกเมื่อ เพื่อเข้าไปดูแลและจัดการให้บริการสุขภาพเชิงรุกในชุมชน รวมทั้งการสรุปวิเคราะห์ข้อมูล แก้ปัญหาสุขภาพในชุมชนที่รับผิดชอบ พร้อมทั้งสร้างแกนนำประจำครอบครัว เพื่อให้มีความรู้ด้านสุขภาพที่จำเป็นแก่ครัวเรือนสามารถช่วยเหลือตัวเองเบื้องต้นทั้งการส่งเสริมสุขภาพ การรักษาพยาบาลเบื้องต้นและ การฟื้นฟูสภาพ ซึ่งในปีที่ผ่านมา ทางอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ได้ดำเนินการ จัดทำฐานข้อมูลแต่ละกลุ่มวัยการพัฒนาช่องทางการสื่อสาร ผ่านทางกลุ่มไลน์ ในการรายงานการติดตาม การขอคำปรึกษากับทางเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ซึ่งทำให้เกิดความรวดเร็ว ทันสมัย ในการให้บริการเชิงรุกแต่ยังพบว่า ในแต่ละกลุ่ม ยังขาดความรู้ ทักษะ การสร้างเสริมสุขภาพที่ถูกต้อง และพบว่า ยังมีบางครอบครัว ที่ผู้ป่วย ผู้ด้อยโอกาส ยังขาดการดูแลที่เหมาะสม ทำให้ขาดคุณภาพชีวิตที่ดีจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมา เพื่อต่อยอด จากการดำเนินงานในปีที่ผ่านมา ให้เกิดกระบวนการ การมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพทุกกลุ่มวัย ขึ้น เพื่อ สร้าง พัฒนา นักจัดการสุขภาพในพื้นที่เพิ่มขึ้น และ ให้มีอาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) ขึ้น เพื่อเชื่อมการทำงานในระดับชุมชน สู่การดูแลในระดับครอบครัว เพื่อพัฒนาระบบการออกเยี่ยมบ้าน การออกแบบการช่วยเหลือร่วมกันในการดูแล การติดตาม หรือการประสานงานภาคีเครือข่ายภายนอก ในการร่วมช่วยเหลือในการดำเนินชีวิต กรณีผู้ด้อยโอกาส และ เพื่อให้เข้าถึงบริการคุณภาพที่มีประสิทธิภาพ มีความรู้ด้านสุขภาพที่จำเป็นแก่ครัวเรือน สามารถช่วยเหลือตัวเองเบื้องต้น ทั้งการส่งเสริมสุขภาพ การรักษาพยาบาลเบื้องต้น การฟื้นฟูสภาพ การป้องกันโรค อสม.หมอประจำบ้าน หมายถึง อสม.ที่มีความรู้ ความสามารถที่จะดูแลสุขภาพประชาชนได้อย่างมีคุณภาพและใกล้ชิด ด้วยการใช้ประสบการณ์จากการปฏิบัติงานในพื้นที่ บนพื้นฐานทางทรัพยากร เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม วิถีชีวิต และเครือข่ายที่มีอยู่ในชุมชน โดย อสม. มีบทบาทสำคัญในการคิดวิเคราะห์ปัญหา วางแผนและแก้ไขปัญหาสุขภาพของประชาชนและชุมชนได้ ทั้งนี้อสม. ควรได้รับการสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบล หรือศูนย์สุขภาพชุมชน เพื่อให้สามารถดำเนินงานเสริมสร้างสุขภาวะและการป้องกันโรคในชุมชนที่เกี่ยวกับสภาวะแวดล้อม การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ อาหารและโภชนาการ ซึ่งสามารถวัดหรือแสดงผลการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรมของประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้ การพัฒนาขีดความสามารถของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เพื่อให้เกิดการพัฒนาด้านบริการสุขภาพ ถือเป็นความสำคัญอย่างยิ่ง จึงจำเป็นที่จะต้องมีการควบคุมให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนดอย่างเคร่งครัด ทั้งนี้เพื่อสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพให้แก่ประชาชนอย่างเหมาะสมตามที่ควรได้รับโดยเน้นการส่งเสริมสุขภาพการให้บริการด้านสุขภาพเชิงรุก นอกจากสถานบริการสาธารณสุขมีบุคลากรที่มีความสามารถแล้ว ต้องมี อสม.ที่มีความสามารถมีสมรรถนะมีความตั้งใจมีความรับผิดชอบและมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจึงจะทำให้เกิดการขับเคลื่อนการพัฒนางานที่ประสบผลสำเร็จสามารถแก้ปัญหาด้านสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพอันจะทำให้เกิดประโยชน์ตามความต้องการด้านสุขภาพแก่ประชาชน ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพัฒนาศักยภาพของ อสม. เพื่อให้มีขีดความสามารถที่พร้อมต่อการดำเนินงานด้าน การส่งเสริมสุขภาพให้มีคุณภาพตามศักยภาพที่ควรเป็น เพื่อรองรับการให้บริการประชาชนที่มีประสิทธิภาพ และเกิดการดูแลซึ่งกันและกันในชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะของอสม.ในการดำเนินงาน
  2. เพื่อให้ประชาชนได้รับการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้องและเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดเวทีพัฒนา ทักษะ อสม.หมอประจำบ้าน
  2. ออกปฏิบัติงานตามแผนแบบบูรณาการ ร่วมกับทีมหมอประจำครอบครัว ในการดูแล แนะนำ ให้คำชี้แนะ และให้คำปรึกษาปัญหาสุขภาพในกลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 65
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 60
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

อสม.ได้รับการยกระดับและผ่านหลักสูตร หมอประจำบ้านทุกคน เพื่อเสริมสร้างศักยพภาพในการร่วมกันดูแลคนในชุมชนทุกกลุ่มวัย ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยผ่านการสื่อสารเทคโนโลยีที่ทันสมัย ได้รับการยอบรับจากคนในชุมชน และกลุ่มเป้าหมายได้รับการดูแลมีคุณภาพชีวิตที่ดี ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนและการดูแลขั้นพื้นฐานในชุมชนได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะของอสม.ในการดำเนินงาน
ตัวชี้วัด : 1. อสม.มีความรู้ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 80 2. อสม.มีการรายงานผลการปฏิบัติงานทุกคน ร้อยละ 100
80.00 100.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนได้รับการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้องและเหมาะสม
ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเป้าหมายได้รับคำแนะนำและเยี่ยมบ้านร้อยละ 100 2. กลุ่มเป้าหมายได้รับการดูแลในรายผิดปกติและส่งต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร้อยละ 100
80.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 455
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 65
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 60
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะของอสม.ในการดำเนินงาน (2) เพื่อให้ประชาชนได้รับการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้องและเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดเวทีพัฒนา ทักษะ อสม.หมอประจำบ้าน (2) ออกปฏิบัติงานตามแผนแบบบูรณาการ ร่วมกับทีมหมอประจำครอบครัว ในการดูแล แนะนำ ให้คำชี้แนะ และให้คำปรึกษาปัญหาสุขภาพในกลุ่มเป้าหมาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคนควนโดนสุขภาพดี มี อสม. หมอประจำบ้าน ดูแลใส่ใจทุกกลุ่มวัย ประจำปี 2564 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L8406-02-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายก็หลัด บินหมาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด