กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละกาโปร์


“ โครงการโรงเรียนปลอดขยะชุมชนบ้านปาตา ประจำปีงบประมาณ 2564 ”

ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายมะรูดิง อาลี

ชื่อโครงการ โครงการโรงเรียนปลอดขยะชุมชนบ้านปาตา ประจำปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-50110-2-13 เลขที่ข้อตกลง 13/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการโรงเรียนปลอดขยะชุมชนบ้านปาตา ประจำปีงบประมาณ 2564 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละกาโปร์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการโรงเรียนปลอดขยะชุมชนบ้านปาตา ประจำปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการโรงเรียนปลอดขยะชุมชนบ้านปาตา ประจำปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-50110-2-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละกาโปร์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่รุนแรงมากขึ้นทุกวันนี้ ส่วนหนึ่งมาจาก ขยะ ซึ่งเป็นปัญหาพื้นฐานของชุมชนและโรงเรียนก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมภายในชุมชนและโรงเรียน อาทิเช่น เป็นแหล่งอาหารและแหล่งเพาะพันธุ์ของพาหะนำโรค เช่น แมลงวัน แมลงสาบ ยุง ฯลฯ เป็นแหล่งแพร่กระจายเชื้อโรคมีกลิ่นเหม็น ก่อให้เกิดความรำคาญ ทำลายสุนทรียภาพด้านสิ่งแวดล้อม เกิดสภาพไม่น่าดู สกปรก น่ารังเกียจ ขยะทำให้น้ำเสียที่มีความสกปรกสูงมาก เกิดกลิ่นรบกวน เป็นแหล่งสะสมเชื้อโรค ส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการได้จัดทำแผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ (พ.ศ.2559-2564) ตามนโยบายของรัฐบาลในการจัดการขยะมูลฝอย เพื่อเป็นการสร้างจิตสำนึก และรณรงค์การคัดแยกขยะ ประเภทขยะมูลฝอยที่ต้นทางให้แก่นักเรียนและเยาวชนในโรงเรียนและสถานศึกษาทุกแห่งในสังกัดและจากที่สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปัตตานี เขต 1 จึงขอความร่วมมือจากทางโรงเรียนทุกโรงเรียนให้จัดกิจกรรมรณรงค์การคัดแยกขยะมูลฝอยในสถานศึกษาด้วย โรงเรียนชุมชนบ้านปาตา ซึ่งเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ มีจำนวนนักเรียนทั้งสิ้น 450 คน เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ตระหนักถึงความสำคัญของเรื่องดังกล่าวจึงจัดทำโครงการ “โรงเรียนปลอดขยะ” ขึ้น ทั้งนี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปลูกจิตสำนึกการลดคัดแยกขยะและการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ในโรงเรียน การรวบรวมขยะเพื่อส่งไปกำจัดอย่างถูกต้องสร้างระบบการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมต่างๆ ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษาและชุมชนมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการลดการคัดแยกขยะและการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่
  2. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบการจัดการขยะมูลฝอยโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีเครือข่าย
  3. เพื่อปลูกฝังให้นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาเห็นความสำคัญและสามารถปฏิบัติได้ในเรื่องการลดการคัดแยกขยะและการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่
  4. เพื่อรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ ปลูกจิตสำนึกและสร้างความตระหนักให้นักเรียนและบุคลากรในสถานศึกษาในการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเดินรณรงค์การจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและชุมชน
  2. กิจกรรมการให้ความรู้ความเข้าใจในเรื่องขยะโดยจัดทำป้ายนิเทศ แผ่นพับเผยแพร่ความรู้
  3. กิจกรรมฐานการเรียนรู้ขยะบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 395
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนและบุคลากรในสถานศึกษามีความรู้ มีจิตสำนึกและมีความตระหนักในการจัดการขยะมูลฝอยและสามารถเป็นตัวอย่างที่ดีให้กับชุมชนในการคัดแยกขยะก่อนทิ้งที่ยั่งยืน

    1. นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ตระหนักถึงความสำคัญของการของการลดการคัดแยกขยะและการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่และนำมาใช้ในชีวิตประจำวันรวมทั้งให้ความร่วมมือในกิจกรรมจากโครงการโรงเรียนปลอดขยะที่โรงเรียนจัดทำขึ้น
  2. โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่ร่มรื่น สวยงาม ปลอดขยะ และมีบรรยากาศวิชาการที่เอื้อต่อการเรียนรู้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมเดินรณรงค์การจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและชุมชน

วันที่ 1 มกราคม 2564 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

มีการเดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์การจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียนและชุมชน เพื่อสร้างความตระหนักในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ผลกระทบของปัญหาขยะ และความสำคัญของการจัดการขยะ เป็นต้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้ปกครอง ประชาชนในชุมชน และนักเรียนมีความตระหนักในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม คิดเป็นร้อยละ  76.66
  2. ผู้ปกครอง ประชาชนในชุมชน และนักเรียนให้ความสำคัญในเรื่องผลกระทบของปัญหาขยะ  คิดเป็นร้อยละ  66.66 และ
  3. ผู้ปกครอง ประชาชนในชุมชน และนักเรียนให้การสนับสนุน ความร่วมมือในการช่วยเหลือโรงเรียนและให้ความสำคัญของการจัดการขยะภายในชุมชน เป็นต้น

 

395 0

2. กิจกรรมการให้ความรู้ความเข้าใจในเรื่องขยะโดยจัดทำป้ายนิเทศ แผ่นพับเผยแพร่ความรู้

วันที่ 1 มกราคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้ความเข้าใจในเรื่องขยะ โดยจัดทำป้ายนิเทศ และแผ่นพับเผยแพร่ความรู้ให้กับนักเรียนภายในโรงเรียนฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของขยะมากขึ้น และมีจิตสำนึกในเรื่องการจัดการขยะ สามารถเป็นตัวอย่างที่ดีให้กับคนในชุมชนในการคัดแยกขยะก่อนทิ้งที่ยั่งยืน

 

0 0

3. กิจกรรมฐานการเรียนรู้ขยะบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

วันที่ 1 มกราคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

โดยการจัดกิจกรรมออกเป็นฐาน ซึ่งมีทั้งหมด 5 ฐาน ดังนี้ 1. ฐานกิจกรรมแยกขยะจากห้องเรียน อาทิเช่น ขยะกระดาษ/ขยะพลาสติก/ขยะทั่วไป และขยะอันตราย เป็นต้น 2. ฐานกิจกรรมขวดน้ำหรรษา 3. ฐานกิจกรรมถุงนมแปลงร่าง 4. ฐานกิจกรรมไม้ไอติมมหัศจรรย์ 5. ฐานกิจกรรมไม้กวาดก้านมะพร้าวด้ามวิเศษ เป็นต้น โดยให้นักเรียนเวียนกันเข้าฐานแต่ละฐาน เพื่อศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในแต่ละฐาน ฯลฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนมีการรู้จักนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวอตประจำวัน และในกิจกรรมต่างๆ เพื่อการจัดการขยะภายในโรงเรียนที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษาและชุมชนมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการลดการคัดแยกขยะและการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่
ตัวชี้วัด :
0.00 90.00

 

2 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบการจัดการขยะมูลฝอยโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีเครือข่าย
ตัวชี้วัด :
0.00 80.00

 

3 เพื่อปลูกฝังให้นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาเห็นความสำคัญและสามารถปฏิบัติได้ในเรื่องการลดการคัดแยกขยะและการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่
ตัวชี้วัด :
0.00 80.00

 

4 เพื่อรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ ปลูกจิตสำนึกและสร้างความตระหนักให้นักเรียนและบุคลากรในสถานศึกษาในการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย
ตัวชี้วัด :
0.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 395 395
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 395 395
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษาและชุมชนมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการลดการคัดแยกขยะและการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ (2) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบการจัดการขยะมูลฝอยโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีเครือข่าย (3) เพื่อปลูกฝังให้นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาเห็นความสำคัญและสามารถปฏิบัติได้ในเรื่องการลดการคัดแยกขยะและการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ (4) เพื่อรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ ปลูกจิตสำนึกและสร้างความตระหนักให้นักเรียนและบุคลากรในสถานศึกษาในการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเดินรณรงค์การจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและชุมชน (2) กิจกรรมการให้ความรู้ความเข้าใจในเรื่องขยะโดยจัดทำป้ายนิเทศ แผ่นพับเผยแพร่ความรู้ (3) กิจกรรมฐานการเรียนรู้ขยะบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการโรงเรียนปลอดขยะชุมชนบ้านปาตา ประจำปีงบประมาณ 2564 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-50110-2-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมะรูดิง อาลี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด