โครงการส่งเสริมพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาสำหรับเด็กพิการ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาสำหรับเด็กพิการ ”
ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวรุสนีย์ สมานคาน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ
กันยายน 2564
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาสำหรับเด็กพิการ
ที่อยู่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 64-L5287-3-02 เลขที่ข้อตกลง 01/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาสำหรับเด็กพิการ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาสำหรับเด็กพิการ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาสำหรับเด็กพิการ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 64-L5287-3-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,610.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การศึกษาเป็นรากฐานที่สำคัญประการหนึ่งในการสร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้า และแก้ไขปัญหาต่างๆ เนื่องจากการศึกษษเป็นกระบวนการที่จะช่วยให้บุคคลพัฒนาตนเองตลอดชีวิต สามารถพัฒนาศักยภาพและความสามารถด้ายต่างๆ เพื่อให้รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง ให้เป็นไปตามสภาพทางสังคม และเศษฐกิจรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 หมวด 5 มาตรา 54 รัฐต้องดำเนินการให้เด็กทุกคน ได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย โดยรัฐต้องดำเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษา ตามวรรคหนึ่ง เพื่อพัมนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย ทั้งนี้ต้องดำเนินการให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในระบบต่างๆ รวมทั้งส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต และจัดให้มีการร่วมมือระหว่างรัฐองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคเอกชน ในการจัดการศึกษาทุกระดับโดยรัฐมีหน้าที่ดำเนินการ กำกับ ส่งเสริมและสนับสนุนให้การจัดการศึกษาดังกล่าวมีคุณภาพและได้มาตราฐานสากล
ดังนั้นกระบวนการจัดการศึกษาจึงมีหลายรูปแบบเพื่อพัฒนาให้เหมาะสมและสอดคล้องกับความแตกต่างของตัวบุคคลรวมทั้งสภาพความเป็นอยุ่ทางสังคม วัฒนธรรม ประเพณี เศษฐกิจ การจัดการศึกษาจึงทีทั้งการศึกษาสำหรับบุคคลปกติและการจัดการศึกษาสำหรับบุคคลที่มีความต้องการพิเศษ อีกทั้งตามมาตรา 10 ระบุว่า การจัดการศึกษาต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาศเสมอกัน ในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐต้องจัดให้ทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่ายการจัดการศึกษาสำหรับบุคคลซึ่งมีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม การสื่อสารและการเรียนรู้หรือมีร่างกายพิการ หรือทุพพลภาพหรือบุุคคคลซึ่งไมาสามารถพึ่งตนเองได้หรือไม่มีผู้ดูแลหรือด้อยโอกาส ต้องจัดให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิและโอกาศได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นพิเศษ การศึกษาสำหรับครพิการในวรรคสอง ให้จัดตั้งแต่แรกเกิดหรือพบความพิการโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และให้บุุคลดังกล่าวมีสิทธฺได้รับสิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการ และความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษาตามหลักเณฑ์และวิธีการกำหนดในกฎกระทรวง การจัดการศึกษาสำหรับบุคคลซึ่งมีความพิเศษ ต้องจัดด้วยรูปแบบที่เหมาะสม ดดยคำนึงถึงความสามารถของบคคุล
ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดสตูล สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการมีหน้าที่จักการศึกษาให้กับเด็กตั้งแต่แรกเกิด หรือแรกพบความพิการในลักษณะของการให้บริการช่วยเหลือระยะแรกเริม EI การเตรียมความพร้อมแก่เด็กพิการ รวมทั้งการสนับสนุนด้านการบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพ ภารกิจที่ต้องจัดการศึกษาพิเศษและปฏิบัติงานอย่างบูรณาการร่วมกับองค์กรอื่นที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อร่วมพัฒนาเด็กพิการให้ได้รับการบริการครบถ้วนทุกความต้องการจำเป็นพิเศษของเด็กพิการเป็นรายบุุคล ทั้งในด้านการศึกษาส่งเสริมให้ได้รับการสงเคราะห์ให้ได้รับบริการทางการแพทย์และให้ได้รับเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการและความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา พัฒนาและฝึกอบรมผู้ดูแลเด็กพิการ บุคคลากรที่จัดการศึกษาสำหรับคนพิการ ดังนั้นศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดสตูล หน่วยบริการท่าแพ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาสำหรับเด็กพิการเพื่อส่งเสริมเด็กพิการให้ได้รับการพัฒนาฟื้นฟูสมรรภภาพ และพัฒนาผู้ปกครอง ใหมีความรู้เรื่องการพัฒนาด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคมของเด็กพิการ ส่งผลให้เด็กพิการมีพฒนาการที่ดีขึ้นตามศุกยภาพของแติละบุุคลและสมารถอยู่ร่วมในสังคมอย่างมีความสุข
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้เด็กพิการได้รับการพัฒนาฟื้นฟูสมรรถภาพและศักยภาพด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคมของเด็กพิการ
- 2. เพื่อให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง ผู้ดูแลคนพิการ ได้รับความรู้ ความเข้าใจในเรื่องพัฒนาด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคมของเด็กพิการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมหัตถศึกษา การสร้างสรรค์งานประดิษฐ์จากเศษวัสดุเหลือใช้ในท้องถิ่น
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
64
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เด็กพิการศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดสตูล หน่วยบริการท่าแพ มีพัฒนาการที่ดีขึ้นตามศักยภาพของแต่ละบุุคลและสามารถอยู่ร่วมในสังคมอย่างมีความสูข
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากการดำเนินงานโครงการส่งเสริมพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญาสำหรับเด็กพิการของศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดสตูล หน่วยบริการท่าแพ ณ อาคารเอนกประสงค์ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าแพ หมู่ที่ 2 ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จัดขึ้นเมื่อวันที่ 29 - 31 มีนาคม 2564 นั้น
นายสมเกียรติ มานีอาเหล็ม นายกองค์การบริหารส่วนตำบลท่าแพ เป็นประธานในพิธีเปิดโครงการ นางปฏิมา จ่าพันธุ์ รองผู้อำนวยการศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดสตูล กล่าวรายงาน และนางปัทมา หมัดสาลี ตำแหน่ง วิทยาอิสระ เป็นวิทยากรในการดำเนินโครงการ ผลการดำเนินโครงการ ดังนี้
1. นักเรียนได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพและศักยภาพด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม
2. พ่อแม่ ผู้ปกครอง ผู้ดูแลผู้พิการ ได้รับความรู้ความเข้าใจในเรื่องพัฒนาด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคมของเด็กพิการ
โดยมีผู้เข้าร่วงโครงการจำนวน 78 คน ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการทำเทียน / เทียนเจล จำนวน 200 ชิ้นและได้ดำเนินการแจกจ่ายให้กับผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด
ผลที่ได้จากการดำเนินโครงการ
1. ร้อยละ 100 ของเด็กพิการศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดสตูล หน่วยบริการท่าแพได้รับการพัฒนาฟื้นฟูสมรรถภาพและศักยภาพ ด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม
2. ร้อยละ 100 ของพ่อแม่ ผู้ปกครอง ผู้ดูแลคนพิการ ได้รับความรู้ ความเข้าใจในเรื่องพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาของเด็กพิการ
ปัญหา/อุปสรรในการดำเนินงาน
การดำเนินกิจกรรมเป็นระยะเวลานานๆ ติดต่อกัน ทำให้เด็กพิการบางคนไม่สามารถทำกิจกรรมร่วมกับผู้ปกครองได้ตลอดเวลา ผู้ปกครองต้องหยุดชะงักในการทำกิจกรรมเป็นครั้งคราว เพื่อดูแลบุตรหลานของตนเอง แล้วมาเริ่มทำกิจกรรมใหม่ทำให้ไม่สามารถร่วมกิจกรรมไดอย่างต่อเนื่่อง
แนวทางการแก้ไข การเข้าร่วมกิจกรรมครั้งต่อไปควรมีข้อกำหนดเป้าหมายเพิ่มขึ้น เช่น ผู้เข้าร่วมโครงการครอบครัวละ 3 คน คือ พ่อ แม่ ลูก เพื่อให้ผู้ร่วมโครงการมีเวลาและมีความรู้ในการทำกิจกรรมได้อย่างต่อเนื่อง เพิ่มความสะดวกในการทำกิจกรรมของแต่ละครอบครัวของผู้พิการต่อไป
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้เด็กพิการได้รับการพัฒนาฟื้นฟูสมรรถภาพและศักยภาพด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคมของเด็กพิการ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของเด็กพิการศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดสตูล หน่วยบริการท่าแพ ได้รับการพัฒนาฟื้นฟูสมรรถภาพและศัยภาพด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคมของเด็กพิการ
0.00
100.00
2
2. เพื่อให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง ผู้ดูแลคนพิการ ได้รับความรู้ ความเข้าใจในเรื่องพัฒนาด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคมของเด็กพิการ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของพ่อแม่ ผู้ปกครอง ผู้ดูแลคนพิการ ได้รับความรู้ความเข้าใจเรื่องพัฒนาด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคมของเด็กพิการ
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
64
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
64
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เด็กพิการได้รับการพัฒนาฟื้นฟูสมรรถภาพและศักยภาพด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคมของเด็กพิการ (2) 2. เพื่อให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง ผู้ดูแลคนพิการ ได้รับความรู้ ความเข้าใจในเรื่องพัฒนาด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคมของเด็กพิการ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมหัตถศึกษา การสร้างสรรค์งานประดิษฐ์จากเศษวัสดุเหลือใช้ในท้องถิ่น
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาสำหรับเด็กพิการ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 64-L5287-3-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวรุสนีย์ สมานคาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาสำหรับเด็กพิการ ”
ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวรุสนีย์ สมานคาน
กันยายน 2564
ที่อยู่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 64-L5287-3-02 เลขที่ข้อตกลง 01/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาสำหรับเด็กพิการ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาสำหรับเด็กพิการ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาสำหรับเด็กพิการ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 64-L5287-3-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,610.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การศึกษาเป็นรากฐานที่สำคัญประการหนึ่งในการสร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้า และแก้ไขปัญหาต่างๆ เนื่องจากการศึกษษเป็นกระบวนการที่จะช่วยให้บุคคลพัฒนาตนเองตลอดชีวิต สามารถพัฒนาศักยภาพและความสามารถด้ายต่างๆ เพื่อให้รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง ให้เป็นไปตามสภาพทางสังคม และเศษฐกิจรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 หมวด 5 มาตรา 54 รัฐต้องดำเนินการให้เด็กทุกคน ได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย โดยรัฐต้องดำเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษา ตามวรรคหนึ่ง เพื่อพัมนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย ทั้งนี้ต้องดำเนินการให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในระบบต่างๆ รวมทั้งส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต และจัดให้มีการร่วมมือระหว่างรัฐองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคเอกชน ในการจัดการศึกษาทุกระดับโดยรัฐมีหน้าที่ดำเนินการ กำกับ ส่งเสริมและสนับสนุนให้การจัดการศึกษาดังกล่าวมีคุณภาพและได้มาตราฐานสากล ดังนั้นกระบวนการจัดการศึกษาจึงมีหลายรูปแบบเพื่อพัฒนาให้เหมาะสมและสอดคล้องกับความแตกต่างของตัวบุคคลรวมทั้งสภาพความเป็นอยุ่ทางสังคม วัฒนธรรม ประเพณี เศษฐกิจ การจัดการศึกษาจึงทีทั้งการศึกษาสำหรับบุคคลปกติและการจัดการศึกษาสำหรับบุคคลที่มีความต้องการพิเศษ อีกทั้งตามมาตรา 10 ระบุว่า การจัดการศึกษาต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาศเสมอกัน ในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐต้องจัดให้ทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่ายการจัดการศึกษาสำหรับบุคคลซึ่งมีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม การสื่อสารและการเรียนรู้หรือมีร่างกายพิการ หรือทุพพลภาพหรือบุุคคคลซึ่งไมาสามารถพึ่งตนเองได้หรือไม่มีผู้ดูแลหรือด้อยโอกาส ต้องจัดให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิและโอกาศได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นพิเศษ การศึกษาสำหรับครพิการในวรรคสอง ให้จัดตั้งแต่แรกเกิดหรือพบความพิการโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และให้บุุคลดังกล่าวมีสิทธฺได้รับสิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการ และความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษาตามหลักเณฑ์และวิธีการกำหนดในกฎกระทรวง การจัดการศึกษาสำหรับบุคคลซึ่งมีความพิเศษ ต้องจัดด้วยรูปแบบที่เหมาะสม ดดยคำนึงถึงความสามารถของบคคุล ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดสตูล สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการมีหน้าที่จักการศึกษาให้กับเด็กตั้งแต่แรกเกิด หรือแรกพบความพิการในลักษณะของการให้บริการช่วยเหลือระยะแรกเริม EI การเตรียมความพร้อมแก่เด็กพิการ รวมทั้งการสนับสนุนด้านการบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพ ภารกิจที่ต้องจัดการศึกษาพิเศษและปฏิบัติงานอย่างบูรณาการร่วมกับองค์กรอื่นที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อร่วมพัฒนาเด็กพิการให้ได้รับการบริการครบถ้วนทุกความต้องการจำเป็นพิเศษของเด็กพิการเป็นรายบุุคล ทั้งในด้านการศึกษาส่งเสริมให้ได้รับการสงเคราะห์ให้ได้รับบริการทางการแพทย์และให้ได้รับเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการและความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา พัฒนาและฝึกอบรมผู้ดูแลเด็กพิการ บุคคลากรที่จัดการศึกษาสำหรับคนพิการ ดังนั้นศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดสตูล หน่วยบริการท่าแพ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาสำหรับเด็กพิการเพื่อส่งเสริมเด็กพิการให้ได้รับการพัฒนาฟื้นฟูสมรรภภาพ และพัฒนาผู้ปกครอง ใหมีความรู้เรื่องการพัฒนาด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคมของเด็กพิการ ส่งผลให้เด็กพิการมีพฒนาการที่ดีขึ้นตามศุกยภาพของแติละบุุคลและสมารถอยู่ร่วมในสังคมอย่างมีความสุข
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้เด็กพิการได้รับการพัฒนาฟื้นฟูสมรรถภาพและศักยภาพด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคมของเด็กพิการ
- 2. เพื่อให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง ผู้ดูแลคนพิการ ได้รับความรู้ ความเข้าใจในเรื่องพัฒนาด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคมของเด็กพิการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมหัตถศึกษา การสร้างสรรค์งานประดิษฐ์จากเศษวัสดุเหลือใช้ในท้องถิ่น
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 64 | |
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เด็กพิการศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดสตูล หน่วยบริการท่าแพ มีพัฒนาการที่ดีขึ้นตามศักยภาพของแต่ละบุุคลและสามารถอยู่ร่วมในสังคมอย่างมีความสูข
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากการดำเนินงานโครงการส่งเสริมพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญาสำหรับเด็กพิการของศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดสตูล หน่วยบริการท่าแพ ณ อาคารเอนกประสงค์ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าแพ หมู่ที่ 2 ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จัดขึ้นเมื่อวันที่ 29 - 31 มีนาคม 2564 นั้น
นายสมเกียรติ มานีอาเหล็ม นายกองค์การบริหารส่วนตำบลท่าแพ เป็นประธานในพิธีเปิดโครงการ นางปฏิมา จ่าพันธุ์ รองผู้อำนวยการศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดสตูล กล่าวรายงาน และนางปัทมา หมัดสาลี ตำแหน่ง วิทยาอิสระ เป็นวิทยากรในการดำเนินโครงการ ผลการดำเนินโครงการ ดังนี้
1. นักเรียนได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพและศักยภาพด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม
2. พ่อแม่ ผู้ปกครอง ผู้ดูแลผู้พิการ ได้รับความรู้ความเข้าใจในเรื่องพัฒนาด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคมของเด็กพิการ
โดยมีผู้เข้าร่วงโครงการจำนวน 78 คน ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการทำเทียน / เทียนเจล จำนวน 200 ชิ้นและได้ดำเนินการแจกจ่ายให้กับผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด
ผลที่ได้จากการดำเนินโครงการ
1. ร้อยละ 100 ของเด็กพิการศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดสตูล หน่วยบริการท่าแพได้รับการพัฒนาฟื้นฟูสมรรถภาพและศักยภาพ ด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม
2. ร้อยละ 100 ของพ่อแม่ ผู้ปกครอง ผู้ดูแลคนพิการ ได้รับความรู้ ความเข้าใจในเรื่องพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาของเด็กพิการ
ปัญหา/อุปสรรในการดำเนินงาน
การดำเนินกิจกรรมเป็นระยะเวลานานๆ ติดต่อกัน ทำให้เด็กพิการบางคนไม่สามารถทำกิจกรรมร่วมกับผู้ปกครองได้ตลอดเวลา ผู้ปกครองต้องหยุดชะงักในการทำกิจกรรมเป็นครั้งคราว เพื่อดูแลบุตรหลานของตนเอง แล้วมาเริ่มทำกิจกรรมใหม่ทำให้ไม่สามารถร่วมกิจกรรมไดอย่างต่อเนื่่อง
แนวทางการแก้ไข การเข้าร่วมกิจกรรมครั้งต่อไปควรมีข้อกำหนดเป้าหมายเพิ่มขึ้น เช่น ผู้เข้าร่วมโครงการครอบครัวละ 3 คน คือ พ่อ แม่ ลูก เพื่อให้ผู้ร่วมโครงการมีเวลาและมีความรู้ในการทำกิจกรรมได้อย่างต่อเนื่อง เพิ่มความสะดวกในการทำกิจกรรมของแต่ละครอบครัวของผู้พิการต่อไป
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้เด็กพิการได้รับการพัฒนาฟื้นฟูสมรรถภาพและศักยภาพด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคมของเด็กพิการ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของเด็กพิการศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดสตูล หน่วยบริการท่าแพ ได้รับการพัฒนาฟื้นฟูสมรรถภาพและศัยภาพด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคมของเด็กพิการ |
0.00 | 100.00 |
|
|
2 | 2. เพื่อให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง ผู้ดูแลคนพิการ ได้รับความรู้ ความเข้าใจในเรื่องพัฒนาด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคมของเด็กพิการ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของพ่อแม่ ผู้ปกครอง ผู้ดูแลคนพิการ ได้รับความรู้ความเข้าใจเรื่องพัฒนาด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคมของเด็กพิการ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 64 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 64 | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เด็กพิการได้รับการพัฒนาฟื้นฟูสมรรถภาพและศักยภาพด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคมของเด็กพิการ (2) 2. เพื่อให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง ผู้ดูแลคนพิการ ได้รับความรู้ ความเข้าใจในเรื่องพัฒนาด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคมของเด็กพิการ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมหัตถศึกษา การสร้างสรรค์งานประดิษฐ์จากเศษวัสดุเหลือใช้ในท้องถิ่น
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาสำหรับเด็กพิการ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 64-L5287-3-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวรุสนีย์ สมานคาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......