กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี


“ โครงการอบรมให้ความรู้การควบคุมป้องกันโรคติดต่อนำโดยแมลง ประจำปี 2564 ”

ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางรุ่งตะวัน สมัครกิจ

ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้การควบคุมป้องกันโรคติดต่อนำโดยแมลง ประจำปี 2564

ที่อยู่ ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2543-2-06 เลขที่ข้อตกลง 4/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมให้ความรู้การควบคุมป้องกันโรคติดต่อนำโดยแมลง ประจำปี 2564 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้การควบคุมป้องกันโรคติดต่อนำโดยแมลง ประจำปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้การควบคุมป้องกันโรคติดต่อนำโดยแมลง ประจำปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L2543-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2564 - 28 กุมภาพันธ์ 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,770.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 70 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันโรคติดต่อที่นำโดยแมลงและโรคติดต่อจากสาเหตุอื่น ๆ นั้นนับว่าเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในระดับประเทศและจากภาวะโรคร้อนอากาศแปรปรวนทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของโรคติดต่อที่สำคัญ เช่น โรคเท้าช้าง โรคสครับไทฟัส โรคไข้เลือดออก โรคอุจจาระร่วง โรคอาหารเป็นพิษ ไข้มาลาเรีย เป็นต้น และในปีงบประมาณ 2564 หมู่ 11 บ้านท่า ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเท้าช้างจากศูนย์ควบคุมโรคโดยแมลง ศูนย์พิกุลทอง พบผู้ป่วยเท้าช้างรายใหม่จำนวน ๓ ราย และผู้มีภาวะเสี่ยงอีก 10 ราย ในขณะเดียวกันการระบาดของโรคก็เป็นไปได้ง่ายและรวดเร็ว และด้วยบริบทพื้นที่อยู่ติดป่าพรุโต๊ะแดงทำให้เกิดการระบาดของโรคได้ง่าย นับเป็นปัญหาต่อสุขภาพอนามัยของคนของชุมชนอย่างมากจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีมาตรการควบคุม ป้องกัน การเกิดและการระบาดของโรค ให้มีความต่อเนื่องและเป็นรูปธรรมโดยคนในครัวเรือนชุมชน ได้มีส่วนร่วม ในการควบคุม และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงในบ้านและบริเวณบ้านอย่างจริงจัง ต่อเนื่อง สืบไป อีกทั้งยังนำไปสู่ความปลอดภัยจากเป็นโรคและการมีสุขภาพที่ดีต่อไป
ดังนั้น ชมรมอสม.หมู่ที่ 11 บ้านท่า รพ.สต.บ้านใหม่ตำบลสุไหงปาดีอำเภอสุไหงปาดีจังหวัดนราธิวาส ได้เล็งเห็นปัญหาของโรคท่นำโดยแมลง จึงได้ร่วมกับส่วนราชการในพื้นที่ กลุ่มองค์กรภาคประชาชนในพื้นที่ในการควบคุมป้องกัน การเกิดโรคเท้าช้าง จึงได้จัดทำโครงการอบรมให้ความรู้การป้องกันโรคเท้าช้างแก่ประชาชน ประจำปี 2564

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และป้องกันตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อนำโดยแมลง
  2. เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้การควบคุมป้องกันโรคติดต่อนำโดยแมลง
  2. ร่วมกันทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงในหมู่บ้าน โรงเรียน และวัด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนในชุมชนป่วยด้วยโรคเท้าช้างมีจำนวนลดลง 2.ประชาชนในชุมชนร่วมป้องกันและควบคุมโรคเท้าช้างอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ร่วมกันทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงในหมู่บ้าน โรงเรียน และวัด

วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

การรณรงค์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดำเนินการตามเป้าหมาย

 

70 0

2. อบรมให้ความรู้การควบคุมป้องกันโรคติดต่อนำโดยแมลง

วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

จากการดำเนินงานโครงการอบรมให้ความรู้การควบคุมป้องกันโรคติดต่อนำโดยแมลง ประจำปี 2564 ได้มีการจัดประชุมชี้แจงแก่คณะกรรมการดำเนินงาน ซึ่งประกอบไปด้วย อสม. ผู้นำชุมชน เจ้าหน้าที่จากสำนักงานโครงการงานควบคุมปราบปรามโรคติดต่อและการสาธารณสุข ศูนย์ศึกษาการ พัฒนาพิกุลทอง อันเนื่องมาจากพระราชดำริจังหวัดนราธิวาส และเจ้าหน้าที่รพ.สต.บ้านใหม่ เพื่อวางแผนในการจัดทำโครงการ ชี้แจงและเชิญประชาชนกลุ่มเป้าหมาย และกลุ่มเสี่ยง มาร่วมเข้าโครงการอบรมให้ความรู้การควบคุมป้องกันโรคติดต่อนำโดยแมลงประจำปี 2564 โดยให้ประชาชนบ้านท่า หมู่ที่ 11 ในพื้นที่ ได้รับการอบรม เมื่อวันที่ 22กุมภาพันธ์ 2564  ณ.ศาลาเอนกประสงค์ หมู่ที่ 11 ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี  จังหวัดนราธิวาส  โดยมีกลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ  จำนวน  70 คน เพื่อให้ประชาชน หมูที่ 11 บ้านท่า มีความรู้และป้องกันตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อนำโดยแมลง และเพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงอย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการดำเนินงานโครงการอบรมให้ความรู้การควบคุมป้องกันโรคติดต่อนำโดยแมลง ประจำปี 2564 ได้มีการจัดประชุมชี้แจงแก่คณะกรรมการดำเนินงาน ซึ่งประกอบไปด้วย อสม. ผู้นำชุมชน เจ้าหน้าที่จากสำนักงานโครงการงานควบคุมปราบปรามโรคติดต่อและการสาธารณสุข ศูนย์ศึกษาการ พัฒนาพิกุลทอง อันเนื่องมาจากพระราชดำริจังหวัดนราธิวาส และเจ้าหน้าที่รพ.สต.บ้านใหม่ เพื่อวางแผนในการจัดทำโครงการ ชี้แจงและเชิญประชาชนกลุ่มเป้าหมาย และกลุ่มเสี่ยง มาร่วมเข้าโครงการอบรมให้ความรู้การควบคุมป้องกันโรคติดต่อนำโดยแมลงประจำปี 2564 โดยให้ประชาชนบ้านท่า หมู่ที่ 11 ในพื้นที่ ได้รับการอบรม เมื่อวันที่ 22กุมภาพันธ์ 2564  ณ.ศาลาเอนกประสงค์ หมู่ที่ 11 ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี  จังหวัดนราธิวาส  โดยมีกลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ  จำนวน  70 คน เพื่อให้ประชาชน หมูที่ 11 บ้านท่า มีความรู้และป้องกันตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อนำโดยแมลง และเพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงอย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ

 

70 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และป้องกันตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อนำโดยแมลง
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับโรคและป้องกันตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อนำโดยแมลง ร้อยละ90
60.00 60.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ ร้อยละ90
60.00 60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และป้องกันตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อนำโดยแมลง (2) เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้การควบคุมป้องกันโรคติดต่อนำโดยแมลง (2) ร่วมกันทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงในหมู่บ้าน โรงเรียน และวัด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมให้ความรู้การควบคุมป้องกันโรคติดต่อนำโดยแมลง ประจำปี 2564 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2543-2-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางรุ่งตะวัน สมัครกิจ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด