โครงการพัฒนาระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพและการดูแลอย่างต่อเนื่องในผู้ป่วยระยะกลาง (intermediate care/SNAP) เขตตำบลท่าแพ ปีงบประมาณ 2564
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพัฒนาระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพและการดูแลอย่างต่อเนื่องในผู้ป่วยระยะกลาง (intermediate care/SNAP) เขตตำบลท่าแพ ปีงบประมาณ 2564 ”
ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนริศรา โสะนุ้ย
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ
กันยายน 2564
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพและการดูแลอย่างต่อเนื่องในผู้ป่วยระยะกลาง (intermediate care/SNAP) เขตตำบลท่าแพ ปีงบประมาณ 2564
ที่อยู่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 64-L5287-1-03 เลขที่ข้อตกลง 02/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 15 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพและการดูแลอย่างต่อเนื่องในผู้ป่วยระยะกลาง (intermediate care/SNAP) เขตตำบลท่าแพ ปีงบประมาณ 2564 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพและการดูแลอย่างต่อเนื่องในผู้ป่วยระยะกลาง (intermediate care/SNAP) เขตตำบลท่าแพ ปีงบประมาณ 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพและการดูแลอย่างต่อเนื่องในผู้ป่วยระยะกลาง (intermediate care/SNAP) เขตตำบลท่าแพ ปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 64-L5287-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 15 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 44,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันการดูแลผู้ป่วยระยะกลางที่มีอาการทางคลินิกผ่านพ้นวิกฤติและมีอาการคงที่ แต่ยังมีความผิดปกติอยู่ และมีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน ไม่ได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพที่ต่อเนื่อง เนื่องจากขาดการติดตามผู้ป่วยหลุดออกจากระบบ ทำให้ผู้ป่วยไม่ได้รับการรักษาที่ต่อเนื่อง ส่งผลให้ผู้ป่วยเกิดภาวะแทรกซ้อน หรือพิการได้ กระทรวงสาธารณสุขได้จัดให้โรงพยาบาลชุมชนทุกแห่งเป็น intermediate care รับผู้ป่วยพ้นวิกฤติมาดูแล โดยเน้น 3 โรคสำคัญ ได้แก่ โรคหลอดเลือดสมอง การบาดเจ็บที่ไขสันหลัง การบาดเจ็บที่สมอง เป็นต้น เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการฟื้นฟูที่ต่อเนื่อง หลังจากนั้นมีการดูต่อเนื่องที่บ้านโดยทีมสหวิชาชีพ และทีมชุมชน เพื่อที่จะให้ผู้ป่วยไดรับการฟื้นฟูที่ต่อเนื่องเหมาะสม สามารถกลับไปดำรงชีวิตได้ดีมากที่สุด intermediate care ปี 61 จำนวน 30 ราย ปี 62 จำนวน 54 ราย และปี 63 จำนวน 19 ราย ซึ่งในปี 62 ตำบลท่าแพ 25 ราย ตำบลท่าเรือ 3 ราย ตำบลแป-ระ 16 ราย และตำบลสาคร 10 ราย ในปี 63 ตำบลท่าแพ 9 ราย ตำบลท่าเรือ 4 ราย ตำบลแป-ระ 3 ราย และตำบลสาคร 4 ราย จะเห็นได้ว่าในตำบลท่าแพ มีจำนวนผู้ป่วยกลุ่ม intermediate care เยอะที่สุด ผู้ป่วยทั้งหมดไม่ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้าน ฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่อง
ดังนั้นทางกลุ่มเวชกรรมฟื้นฟูจึงได้คิดจัดทำโครงการพัฒนาระบบฟื้นฟูสมรรถภาพและการดูแลต่อเนื่อง intermediate car เขตตำบลท่าแพ ซึ่งเป็นตำบลนำร่อง เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่อง เพิ่มสมรรถนะร่างกายจิตใจ ในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน และลดความพิการหรือภาวะทุพพลภาพรวมทั้งกลับสู่สังคมได้อย่างเต็มศักยภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อจัดอบรมการดูแลผู้ป่วยระยะกลาง intermediate care ใฟ้อาสาสมัคร ผู้ดูแลผู้พิการ ญาติ เยาวชนผู้สนใจ ได้รับความรู้และสามารถนำไปใช้ได้อย่างเหมาะสม
- 2. เพื่อให้ผู้ป่วยระยะกลาง intermediate care ในเขตตำบลท่าแพ ได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างทั่วถึงต่อเนื่อง และเหมาะสม
- 3. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนแก่ผู้ป่วยระยะกลาง intermediate care และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมการดูแลผู้ป่วยระยะกลาง (intermediate care)/SNAP ให้อาสาสมัคร ผู้ดูแล/ญาติ เยาวชนผู้สนใจในตำบลท่าแพ
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้การดูแลผู้ป่วยระยะกลาง ให้อาสาสมัคร ผู้ดูแล/ญาติ เยาวชนผู้สนใจในตำบลท่าแพ
- กิจกรรมออกเยี่ยมบ้านผู้ป่วย IMC/SNAP ในเขตตำบลท่าแพ จำนวน รายละ 2 ครั้ง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
40
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อาสาสมัคร ผู้ดูแลผู้พิการ/ญาติ เยาวชนผู้สนใจ ได้รับความรู้และสามารถนำไปใช้ได้ย่างเหมาะสม
- ผู้ป่วยระยะกลาง intermediate care SNAP ในเขตตำบลท่าแพ ไดรับการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างทั่วถึงต่อเนื่อง และเหมาะสม
- ผู้ป่วยระยะกลาง intermediate car ไม่มีภาวะแทรกซ้อน และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพและการดูแลอย่างต่อเนื่องในผู้ป่วยระยะกลาง ฯ ดังนี้
กิจกรรมในการจัดอบรมมี 2 กิจกรรม คือ
1. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน/ญาติหรือผู้ดูแล โดยจัด ณ ห้องประชุมชั้นสอง โรงพยาบาลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
2. กิจกรรมออกเยี่ยมบ้านและให้การฟื้นฟูผู้ป่วย IMC/SNAP ในเขตพื้นที่ตำบลท่าแพ จำนวนรายละ 2 ครั้ง สถานที่ดำเนินโครงการในพื้นที่ตำบลท่าแพ จำนวน 10 หมู่ บ้าน
กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้การดูแลผู้ป่วยระยะกลาง (intermediate care) SNAP แก่อาสาสมัครผู้ดูแล/ญาติ เยาวชนที่สนใจ ในระหว่างวันที่ 17 - 18 กุมภาพันธ์ 2564 โดยหลังจากให้ความรู้ เรื่องการเกิดพยาธิสภาพของโรคในกลุ่มผู้ป่วยระยะกลาง IMC/SNAP ,การพยาบาลผู้ป่วยระยะกลาง IMC/SNAP ในชุมชน , การใช้ยาและการประเมินการใช้ยาของผู้ป่วยมี่บ้าน อาหารและโภชนาการสำหรับผู้ป่วย IMC/SNAP , ด้านการแพทย์แผนไทยในผู้ป่วยระยะกลาง IMC/SNAPในชุมชน ,สุขภาพจิตในผู้สูงอายุ และแนวทางการดูแลและการฟื้นฟูผู้ป่วย IMC/SNAP ในชุมชน พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการให้ความสนใจเป็นอย่างยิ่ง อีกทั้งมีความรู้และความเข้าใจมากขึ้น และสามารถนำไปใช้ดูแลผู้ป่วยในชุมชนได้ เพื่อให้ผู้ป่วยสาสมารถช่วยเหลือตนเองได้มากขึ้น คุณภาพชีวิตที่ดีและสามารถกลับสู้สภาพใกล้เคียงปกติมากที่สุด และลดภาวะความพิการได้ โดยพิจารณาจาก แบบทดสอบก่อนและหลัง ซึ่งก่อนการอบรมคะแนนคิดเป็นร้อยละ 56.25 และหลังการอบรม มีคะแนนคิดเป็นร้อยละ 84.38 ซึ่งจะเห้นได้ว่า หลังจากอบรมแล้วผู้เข้าร่วมกิจกรรมอบรมมีคะแนนเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 28.31 ดังนั้น จึงสรุปได้ว่า ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับความรู้เพิ่มขึ้น
กิจกรรมที่ 2 การออกเยี่ยมบ้าน โดยออกเยี่ยมบ้านร่วมกับทีมสหวิชาชีพให้ความรู้ เรื่องยา เภสัชกร การพยาบาล การแพทย์แผนไทน การทำกายภาพบำบัด นักจิตวิทยา และ อสม.
จากการจัดโครงการฯ ในครั้งนี้ จำนวนผ้ป่วยที่ออกเยี่ยมบ้านทั้งสิ้น จำนวน 29 ราย ซึ่งเป็นผู้ป่วยระยะกลาง IMC/SNAP ในตำบลท่าแพ โดยออกเยี่ยมบ้านและการให้ฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่อง และเหมาะสม ครบทั้ง 28 ราย รายละ 2 ครั้ง มีคะแแนการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน เฉลี่ย 17 คะแนน ซึ่งในจำนวนนี้ได้รับการเยี่ยมบ้านและฟื้นฟูทั้งหมด คิดเป็นร้อยละ 100 และพบว่าผู้ป่วยระยะกลาง IMC/SNAP ที่ได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ ส่งผลทำให้คะแนนการปฏิบัติกิจกวัตรประจำวัน (BI) ของผู้ป่วยเพิ่มขึ้น 28 ราย คิดเป็นร้อยละ 96.55 และมี 1 ราย มีคะแนนการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันลดลงคิดเป็นร้อยละ 3.45 เนื่องจากมีโรคหลายโรคทำให้การฟื้นตัวช้าและเป็นผู้สูงอายุ และผู้ป่วยบางรายจำเป็นต้องได้รับกายอุปกรณ์ ทางกลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟูจึงได้มอบรถเข็น 3 ราย ไม้เท้า 3 ปุ๋ม และไม้เท้า 4 ขา 1 ราย ดังนั้น จึงสรุปได้ว่า หลังจากผู้ป่วยระยะกลาง IMC/SNAP ได้รับการทำกายภาพบำบัดและฟื้นฟูสมรรถภาพจากทีมสหวิชาชีพ และได้รับการดุแลจากอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตำบลท่าแพ และทางโรงพยาบาลท่าแพ อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้คุณภาพชีวิตของผู้่ป่วยดีขึ้น ลดภาวะแทรกซ้อนและความพิการได้
ผลที่เกิดขึ้นภายหลังโครงการสิ้สุดลง
ตัวแทนอาสาสมัครประจำหมู่บ้านแต่ละหมู่บ้าน ที่ผ่้านการอบรม ได้นำความรู้ไปใช้กับผู้ป่วยระยะกลาง IMC/SNAP และยังสามารถปรับใช้กับตนเองและญาติพี่น้องรวมถึงบุคคลในครองครัว และนำไปใช้ในการดูแลป้องกัน ลดปัจจัยเสี่ยง ไม่ให้เกิดโรคหลอดเลือดสมอง ลดความพิการและเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมองและกลับมาเป็นซ้ำ เกิดกระบวนการทำงานร่วมกันแบบบูรณาการในหลายสาขาอาชีพ และเกิดการตื่นตัวในการฟื้นฟูสมรรถภาพ อีกทั้งยังสนับสนุนการเข้าถึงบริการสาธษณรสุขได้เร็วขึ้นโดยการทำงานแบบเชิงรุก โดยทำงานร่วมกันของคนในชุมชน โดยการการสร้างกลุ่มไลน์ผู้ที่ผ่านการอบรมร่วมกับเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลท่าแพ เพื่อให้ง่ายต่อการส่งต่อผู้ป่วยไปสู่ชุมชน เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูอย่างต่อเนื่องเหมาะสม และส่งผลให้สุขภาวะ คุณภาพชีวิตดีขึ้นสามารถลดภาวะแทรกซ้อนและภาวะความพิการลงได้ ก่อให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีของสังคม และชุมชนสามารถดูแลกันได้ภายในชุมชนก่อให้เกิดความเข้มแข็งต่อไป
ปัญหาอุปสรรค
ปัญหาอุปสรรในการทำงานขององค์กร
- ไม่มี เนื่องจากได้รับความร่วมมือที่ดีมาก ระหว่าง องค์กร ทำให้การทำงานราบรื่น
ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการ
กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้แก่ อสม. ผู้ดูแลและผู้สนใจ
- สถานที่จัดอบรมขับแคบ
กิจกรรมที่ 2 ออกเยี่ยมบ้านผู้ป่วยระยะกลาง IMC/SNAP ในเขตพื้นที่ตำบลท่าแพ จำนวนรายละ 2 ครั้ง
- จำนวนรถในการออกเยี่ยมบ้านไม่เพียงพอทำให้ต้องเลื่อนคิวการออกเยี่ยมบ้าน
ข้อเสนอแนะขององค์กร
อยากให้มีการสนับสนุน ชี้แนะประเด็นปัญหาชุมชน กระทั่งเพิ่มเงินอุดหนุนในการดำเนินโครงการในโอกาศต่อไป เพื่อให้เกิดการบูรณาการร่วมกันขององค์กรต่างๆ เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชน จากโครงการครั้งนี้ได้สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นชุมชนที่มีความเข้มแข็งทั้งภาคชุมชนและภาครัฐ เป็นการกระจายอำนาจและเสริมพลัง อาทิ เช่น ความรู้ ความเห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกัน ทัศนะคติในการดำรงชีวิต และการดำเนินกิจกรรมทั้งหมดที่กล่าวมาคงสำเร็จไม่ได้ หากขาดกำลังคนที่มีความเข้มแข็ง หน่วยงานที่มีความเข้าใจ ที่ให้ความร่วมมือตั้งแต่เริ่มปฏิบัติงานจนกระทั้งเสร็จสิ้นภารกิจ จึงขอขอบพระคุณทุถกท่านที่สละ แรงกาย แรงใจ ในการอุทิศตน เพื่อสังคมโดดยตลอดมา จักขอบพระคุณอย่างยิ่ง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อจัดอบรมการดูแลผู้ป่วยระยะกลาง intermediate care ใฟ้อาสาสมัคร ผู้ดูแลผู้พิการ ญาติ เยาวชนผู้สนใจ ได้รับความรู้และสามารถนำไปใช้ได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : อาสาสมัคร ผู้ดูแลผู้พิการ/ญาติ เยาวชนผูัสนใจ ได้รับความรู้และสามารถนำไปใช้อย่างเหมาะสม ร้อยละ 80 (ประเมินจาก แบบทดสอบความรู้ก่อน หลัง)
80.00
84.38
2
2. เพื่อให้ผู้ป่วยระยะกลาง intermediate care ในเขตตำบลท่าแพ ได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างทั่วถึงต่อเนื่อง และเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยระยะกลาง intermediate care ในเขตตำบลท่าแพ ได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพแล้วมีอาการดีขึ้น ร้อยละ 80 (ประเมินจาก BI scale)
80.00
96.55
3
3. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนแก่ผู้ป่วยระยะกลาง intermediate care และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด :
80.00
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
40
40
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อจัดอบรมการดูแลผู้ป่วยระยะกลาง intermediate care ใฟ้อาสาสมัคร ผู้ดูแลผู้พิการ ญาติ เยาวชนผู้สนใจ ได้รับความรู้และสามารถนำไปใช้ได้อย่างเหมาะสม (2) 2. เพื่อให้ผู้ป่วยระยะกลาง intermediate care ในเขตตำบลท่าแพ ได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างทั่วถึงต่อเนื่อง และเหมาะสม (3) 3. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนแก่ผู้ป่วยระยะกลาง intermediate care และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมการดูแลผู้ป่วยระยะกลาง (intermediate care)/SNAP ให้อาสาสมัคร ผู้ดูแล/ญาติ เยาวชนผู้สนใจในตำบลท่าแพ (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้การดูแลผู้ป่วยระยะกลาง ให้อาสาสมัคร ผู้ดูแล/ญาติ เยาวชนผู้สนใจในตำบลท่าแพ (3) กิจกรรมออกเยี่ยมบ้านผู้ป่วย IMC/SNAP ในเขตตำบลท่าแพ จำนวน รายละ 2 ครั้ง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพัฒนาระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพและการดูแลอย่างต่อเนื่องในผู้ป่วยระยะกลาง (intermediate care/SNAP) เขตตำบลท่าแพ ปีงบประมาณ 2564 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 64-L5287-1-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวนริศรา โสะนุ้ย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพัฒนาระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพและการดูแลอย่างต่อเนื่องในผู้ป่วยระยะกลาง (intermediate care/SNAP) เขตตำบลท่าแพ ปีงบประมาณ 2564 ”
ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนริศรา โสะนุ้ย
กันยายน 2564
ที่อยู่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 64-L5287-1-03 เลขที่ข้อตกลง 02/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 15 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพและการดูแลอย่างต่อเนื่องในผู้ป่วยระยะกลาง (intermediate care/SNAP) เขตตำบลท่าแพ ปีงบประมาณ 2564 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพและการดูแลอย่างต่อเนื่องในผู้ป่วยระยะกลาง (intermediate care/SNAP) เขตตำบลท่าแพ ปีงบประมาณ 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพและการดูแลอย่างต่อเนื่องในผู้ป่วยระยะกลาง (intermediate care/SNAP) เขตตำบลท่าแพ ปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 64-L5287-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 15 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 44,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันการดูแลผู้ป่วยระยะกลางที่มีอาการทางคลินิกผ่านพ้นวิกฤติและมีอาการคงที่ แต่ยังมีความผิดปกติอยู่ และมีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน ไม่ได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพที่ต่อเนื่อง เนื่องจากขาดการติดตามผู้ป่วยหลุดออกจากระบบ ทำให้ผู้ป่วยไม่ได้รับการรักษาที่ต่อเนื่อง ส่งผลให้ผู้ป่วยเกิดภาวะแทรกซ้อน หรือพิการได้ กระทรวงสาธารณสุขได้จัดให้โรงพยาบาลชุมชนทุกแห่งเป็น intermediate care รับผู้ป่วยพ้นวิกฤติมาดูแล โดยเน้น 3 โรคสำคัญ ได้แก่ โรคหลอดเลือดสมอง การบาดเจ็บที่ไขสันหลัง การบาดเจ็บที่สมอง เป็นต้น เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการฟื้นฟูที่ต่อเนื่อง หลังจากนั้นมีการดูต่อเนื่องที่บ้านโดยทีมสหวิชาชีพ และทีมชุมชน เพื่อที่จะให้ผู้ป่วยไดรับการฟื้นฟูที่ต่อเนื่องเหมาะสม สามารถกลับไปดำรงชีวิตได้ดีมากที่สุด intermediate care ปี 61 จำนวน 30 ราย ปี 62 จำนวน 54 ราย และปี 63 จำนวน 19 ราย ซึ่งในปี 62 ตำบลท่าแพ 25 ราย ตำบลท่าเรือ 3 ราย ตำบลแป-ระ 16 ราย และตำบลสาคร 10 ราย ในปี 63 ตำบลท่าแพ 9 ราย ตำบลท่าเรือ 4 ราย ตำบลแป-ระ 3 ราย และตำบลสาคร 4 ราย จะเห็นได้ว่าในตำบลท่าแพ มีจำนวนผู้ป่วยกลุ่ม intermediate care เยอะที่สุด ผู้ป่วยทั้งหมดไม่ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้าน ฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นทางกลุ่มเวชกรรมฟื้นฟูจึงได้คิดจัดทำโครงการพัฒนาระบบฟื้นฟูสมรรถภาพและการดูแลต่อเนื่อง intermediate car เขตตำบลท่าแพ ซึ่งเป็นตำบลนำร่อง เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่อง เพิ่มสมรรถนะร่างกายจิตใจ ในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน และลดความพิการหรือภาวะทุพพลภาพรวมทั้งกลับสู่สังคมได้อย่างเต็มศักยภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อจัดอบรมการดูแลผู้ป่วยระยะกลาง intermediate care ใฟ้อาสาสมัคร ผู้ดูแลผู้พิการ ญาติ เยาวชนผู้สนใจ ได้รับความรู้และสามารถนำไปใช้ได้อย่างเหมาะสม
- 2. เพื่อให้ผู้ป่วยระยะกลาง intermediate care ในเขตตำบลท่าแพ ได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างทั่วถึงต่อเนื่อง และเหมาะสม
- 3. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนแก่ผู้ป่วยระยะกลาง intermediate care และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมการดูแลผู้ป่วยระยะกลาง (intermediate care)/SNAP ให้อาสาสมัคร ผู้ดูแล/ญาติ เยาวชนผู้สนใจในตำบลท่าแพ
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้การดูแลผู้ป่วยระยะกลาง ให้อาสาสมัคร ผู้ดูแล/ญาติ เยาวชนผู้สนใจในตำบลท่าแพ
- กิจกรรมออกเยี่ยมบ้านผู้ป่วย IMC/SNAP ในเขตตำบลท่าแพ จำนวน รายละ 2 ครั้ง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 40 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อาสาสมัคร ผู้ดูแลผู้พิการ/ญาติ เยาวชนผู้สนใจ ได้รับความรู้และสามารถนำไปใช้ได้ย่างเหมาะสม
- ผู้ป่วยระยะกลาง intermediate care SNAP ในเขตตำบลท่าแพ ไดรับการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างทั่วถึงต่อเนื่อง และเหมาะสม
- ผู้ป่วยระยะกลาง intermediate car ไม่มีภาวะแทรกซ้อน และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพและการดูแลอย่างต่อเนื่องในผู้ป่วยระยะกลาง ฯ ดังนี้
กิจกรรมในการจัดอบรมมี 2 กิจกรรม คือ
1. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน/ญาติหรือผู้ดูแล โดยจัด ณ ห้องประชุมชั้นสอง โรงพยาบาลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
2. กิจกรรมออกเยี่ยมบ้านและให้การฟื้นฟูผู้ป่วย IMC/SNAP ในเขตพื้นที่ตำบลท่าแพ จำนวนรายละ 2 ครั้ง สถานที่ดำเนินโครงการในพื้นที่ตำบลท่าแพ จำนวน 10 หมู่ บ้าน
กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้การดูแลผู้ป่วยระยะกลาง (intermediate care) SNAP แก่อาสาสมัครผู้ดูแล/ญาติ เยาวชนที่สนใจ ในระหว่างวันที่ 17 - 18 กุมภาพันธ์ 2564 โดยหลังจากให้ความรู้ เรื่องการเกิดพยาธิสภาพของโรคในกลุ่มผู้ป่วยระยะกลาง IMC/SNAP ,การพยาบาลผู้ป่วยระยะกลาง IMC/SNAP ในชุมชน , การใช้ยาและการประเมินการใช้ยาของผู้ป่วยมี่บ้าน อาหารและโภชนาการสำหรับผู้ป่วย IMC/SNAP , ด้านการแพทย์แผนไทยในผู้ป่วยระยะกลาง IMC/SNAPในชุมชน ,สุขภาพจิตในผู้สูงอายุ และแนวทางการดูแลและการฟื้นฟูผู้ป่วย IMC/SNAP ในชุมชน พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการให้ความสนใจเป็นอย่างยิ่ง อีกทั้งมีความรู้และความเข้าใจมากขึ้น และสามารถนำไปใช้ดูแลผู้ป่วยในชุมชนได้ เพื่อให้ผู้ป่วยสาสมารถช่วยเหลือตนเองได้มากขึ้น คุณภาพชีวิตที่ดีและสามารถกลับสู้สภาพใกล้เคียงปกติมากที่สุด และลดภาวะความพิการได้ โดยพิจารณาจาก แบบทดสอบก่อนและหลัง ซึ่งก่อนการอบรมคะแนนคิดเป็นร้อยละ 56.25 และหลังการอบรม มีคะแนนคิดเป็นร้อยละ 84.38 ซึ่งจะเห้นได้ว่า หลังจากอบรมแล้วผู้เข้าร่วมกิจกรรมอบรมมีคะแนนเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 28.31 ดังนั้น จึงสรุปได้ว่า ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับความรู้เพิ่มขึ้น
กิจกรรมที่ 2 การออกเยี่ยมบ้าน โดยออกเยี่ยมบ้านร่วมกับทีมสหวิชาชีพให้ความรู้ เรื่องยา เภสัชกร การพยาบาล การแพทย์แผนไทน การทำกายภาพบำบัด นักจิตวิทยา และ อสม.
จากการจัดโครงการฯ ในครั้งนี้ จำนวนผ้ป่วยที่ออกเยี่ยมบ้านทั้งสิ้น จำนวน 29 ราย ซึ่งเป็นผู้ป่วยระยะกลาง IMC/SNAP ในตำบลท่าแพ โดยออกเยี่ยมบ้านและการให้ฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่อง และเหมาะสม ครบทั้ง 28 ราย รายละ 2 ครั้ง มีคะแแนการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน เฉลี่ย 17 คะแนน ซึ่งในจำนวนนี้ได้รับการเยี่ยมบ้านและฟื้นฟูทั้งหมด คิดเป็นร้อยละ 100 และพบว่าผู้ป่วยระยะกลาง IMC/SNAP ที่ได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ ส่งผลทำให้คะแนนการปฏิบัติกิจกวัตรประจำวัน (BI) ของผู้ป่วยเพิ่มขึ้น 28 ราย คิดเป็นร้อยละ 96.55 และมี 1 ราย มีคะแนนการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันลดลงคิดเป็นร้อยละ 3.45 เนื่องจากมีโรคหลายโรคทำให้การฟื้นตัวช้าและเป็นผู้สูงอายุ และผู้ป่วยบางรายจำเป็นต้องได้รับกายอุปกรณ์ ทางกลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟูจึงได้มอบรถเข็น 3 ราย ไม้เท้า 3 ปุ๋ม และไม้เท้า 4 ขา 1 ราย ดังนั้น จึงสรุปได้ว่า หลังจากผู้ป่วยระยะกลาง IMC/SNAP ได้รับการทำกายภาพบำบัดและฟื้นฟูสมรรถภาพจากทีมสหวิชาชีพ และได้รับการดุแลจากอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตำบลท่าแพ และทางโรงพยาบาลท่าแพ อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้คุณภาพชีวิตของผู้่ป่วยดีขึ้น ลดภาวะแทรกซ้อนและความพิการได้
ผลที่เกิดขึ้นภายหลังโครงการสิ้สุดลง
ตัวแทนอาสาสมัครประจำหมู่บ้านแต่ละหมู่บ้าน ที่ผ่้านการอบรม ได้นำความรู้ไปใช้กับผู้ป่วยระยะกลาง IMC/SNAP และยังสามารถปรับใช้กับตนเองและญาติพี่น้องรวมถึงบุคคลในครองครัว และนำไปใช้ในการดูแลป้องกัน ลดปัจจัยเสี่ยง ไม่ให้เกิดโรคหลอดเลือดสมอง ลดความพิการและเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมองและกลับมาเป็นซ้ำ เกิดกระบวนการทำงานร่วมกันแบบบูรณาการในหลายสาขาอาชีพ และเกิดการตื่นตัวในการฟื้นฟูสมรรถภาพ อีกทั้งยังสนับสนุนการเข้าถึงบริการสาธษณรสุขได้เร็วขึ้นโดยการทำงานแบบเชิงรุก โดยทำงานร่วมกันของคนในชุมชน โดยการการสร้างกลุ่มไลน์ผู้ที่ผ่านการอบรมร่วมกับเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลท่าแพ เพื่อให้ง่ายต่อการส่งต่อผู้ป่วยไปสู่ชุมชน เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูอย่างต่อเนื่องเหมาะสม และส่งผลให้สุขภาวะ คุณภาพชีวิตดีขึ้นสามารถลดภาวะแทรกซ้อนและภาวะความพิการลงได้ ก่อให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีของสังคม และชุมชนสามารถดูแลกันได้ภายในชุมชนก่อให้เกิดความเข้มแข็งต่อไป
ปัญหาอุปสรรค
ปัญหาอุปสรรในการทำงานขององค์กร
- ไม่มี เนื่องจากได้รับความร่วมมือที่ดีมาก ระหว่าง องค์กร ทำให้การทำงานราบรื่น
ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการ
กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้แก่ อสม. ผู้ดูแลและผู้สนใจ
- สถานที่จัดอบรมขับแคบ
กิจกรรมที่ 2 ออกเยี่ยมบ้านผู้ป่วยระยะกลาง IMC/SNAP ในเขตพื้นที่ตำบลท่าแพ จำนวนรายละ 2 ครั้ง
- จำนวนรถในการออกเยี่ยมบ้านไม่เพียงพอทำให้ต้องเลื่อนคิวการออกเยี่ยมบ้าน
ข้อเสนอแนะขององค์กร
อยากให้มีการสนับสนุน ชี้แนะประเด็นปัญหาชุมชน กระทั่งเพิ่มเงินอุดหนุนในการดำเนินโครงการในโอกาศต่อไป เพื่อให้เกิดการบูรณาการร่วมกันขององค์กรต่างๆ เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชน จากโครงการครั้งนี้ได้สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นชุมชนที่มีความเข้มแข็งทั้งภาคชุมชนและภาครัฐ เป็นการกระจายอำนาจและเสริมพลัง อาทิ เช่น ความรู้ ความเห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกัน ทัศนะคติในการดำรงชีวิต และการดำเนินกิจกรรมทั้งหมดที่กล่าวมาคงสำเร็จไม่ได้ หากขาดกำลังคนที่มีความเข้มแข็ง หน่วยงานที่มีความเข้าใจ ที่ให้ความร่วมมือตั้งแต่เริ่มปฏิบัติงานจนกระทั้งเสร็จสิ้นภารกิจ จึงขอขอบพระคุณทุถกท่านที่สละ แรงกาย แรงใจ ในการอุทิศตน เพื่อสังคมโดดยตลอดมา จักขอบพระคุณอย่างยิ่ง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อจัดอบรมการดูแลผู้ป่วยระยะกลาง intermediate care ใฟ้อาสาสมัคร ผู้ดูแลผู้พิการ ญาติ เยาวชนผู้สนใจ ได้รับความรู้และสามารถนำไปใช้ได้อย่างเหมาะสม ตัวชี้วัด : อาสาสมัคร ผู้ดูแลผู้พิการ/ญาติ เยาวชนผูัสนใจ ได้รับความรู้และสามารถนำไปใช้อย่างเหมาะสม ร้อยละ 80 (ประเมินจาก แบบทดสอบความรู้ก่อน หลัง) |
80.00 | 84.38 |
|
|
2 | 2. เพื่อให้ผู้ป่วยระยะกลาง intermediate care ในเขตตำบลท่าแพ ได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างทั่วถึงต่อเนื่อง และเหมาะสม ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยระยะกลาง intermediate care ในเขตตำบลท่าแพ ได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพแล้วมีอาการดีขึ้น ร้อยละ 80 (ประเมินจาก BI scale) |
80.00 | 96.55 |
|
|
3 | 3. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนแก่ผู้ป่วยระยะกลาง intermediate care และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ตัวชี้วัด : |
80.00 | 0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | 40 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 0 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 40 | 40 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อจัดอบรมการดูแลผู้ป่วยระยะกลาง intermediate care ใฟ้อาสาสมัคร ผู้ดูแลผู้พิการ ญาติ เยาวชนผู้สนใจ ได้รับความรู้และสามารถนำไปใช้ได้อย่างเหมาะสม (2) 2. เพื่อให้ผู้ป่วยระยะกลาง intermediate care ในเขตตำบลท่าแพ ได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างทั่วถึงต่อเนื่อง และเหมาะสม (3) 3. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนแก่ผู้ป่วยระยะกลาง intermediate care และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมการดูแลผู้ป่วยระยะกลาง (intermediate care)/SNAP ให้อาสาสมัคร ผู้ดูแล/ญาติ เยาวชนผู้สนใจในตำบลท่าแพ (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้การดูแลผู้ป่วยระยะกลาง ให้อาสาสมัคร ผู้ดูแล/ญาติ เยาวชนผู้สนใจในตำบลท่าแพ (3) กิจกรรมออกเยี่ยมบ้านผู้ป่วย IMC/SNAP ในเขตตำบลท่าแพ จำนวน รายละ 2 ครั้ง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการพัฒนาระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพและการดูแลอย่างต่อเนื่องในผู้ป่วยระยะกลาง (intermediate care/SNAP) เขตตำบลท่าแพ ปีงบประมาณ 2564 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 64-L5287-1-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวนริศรา โสะนุ้ย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......