กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี


“ โครงการประชาชนสุขใจ ห่างไกลสารเคมี ”

ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางกิตติวรรณ มะโนภักดิ์

ชื่อโครงการ โครงการประชาชนสุขใจ ห่างไกลสารเคมี

ที่อยู่ ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2543-1-04 เลขที่ข้อตกลง 17/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 30 เมษายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการประชาชนสุขใจ ห่างไกลสารเคมี จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการประชาชนสุขใจ ห่างไกลสารเคมี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการประชาชนสุขใจ ห่างไกลสารเคมี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L2543-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2564 - 30 เมษายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,620.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประชาชนในเขตพื้นที่ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส มีอาชีพหลักคืออาชีพเกษตรกร ซึ่งในการประกอบอาชีพทางการเกษตรมีความจำเป็นที่จะต้องสัมผัสกับสารเคมีเพื่อการป้องกันและกำจัดศัตรูพืช ถึงแม้ว่าจะมีข้อบ่งชี้ในการใช้สารเคมีระบุไว้อย่างชัดเจนถึงระยะเวลาการใช้งานและปริมาณที่ใช้ที่ปลอดภัยต่อผู้ใช้อย่างชัดเจน แต่อย่างไรก็ตามเกษตรกรก็ยังต้องมีการใช้สารเคมีดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง จึงอาจมีการสะสมสารเคมีเหล่านั้นในร่างกายและเพิ่มปริมาณมากขึ้นโดยไม่รู้ตัว นอกจากนี้ เกษตรกรบางส่วนยังไม่มีการป้องกันตนเองจากสารเคมีอย่างถูกวิธี เช่น ไม่มีการสวมถุงมือ ไม่สวมใส่หน้ากาก ไม่สวมหมวกและรองเท้าหุ้มส้น ในขณะที่สัมผัสกับสารเคมี จึงทำให้อาจจะเกิดผลกระทบต่อสุขภาพของเกษตรกรได้โดยไม่รู้ตัว ดังนั้น งานส่งเสริมการเกษตร สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลสุไหงปาดี จึงตระหนักถึงความจำเป็นที่จะต้องมีการเฝ้าระวังความเสี่ยงอันตรายจากสารเคมีให้แก่เกษตรกร โดยการตรวจเลือดเพื่อหาสารเคมีตกค้างในเลือด เพื่อให้เกษตรกรได้รับทราบถึงระดับของสารพิษที่อยู่ในเลือดของตนเองและจะได้มีการเฝ้าระวังและป้องกันตนเอง ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อป้องกันอันตรายที่อาจเกิดจากการใช้สารเคมีทางการเกษตรให้แก่ประชาชนและเกษตรกรในพื้นที่ตำบลสุไหงปาดี
  2. 2. เพื่อแนะนำวิธีการดูแลสุขภาพและพฤติกรรมที่เหมาะสมในการใช้สารเคมีทางการเกษตรอย่างปลอดภัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การรวบรวมข้อมูลด้วยแบบประเมินความเสี่ยง
  2. การเจาะเลือดตรวจคัดกรอง
  3. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับอันตรายต่อสุขภาพจากการใช้สารเคมีทางการเกษตรและสามารถป้องกันตนเองให้ปลอดภัยได้ 2.ประชาชนได้รับการดูแลสุขภาพและลดอัตราการป่วยจากการใช้สารเคมีทางการเกษตรได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การเจาะเลือดตรวจคัดกรอง

วันที่ 12 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

เจาะเลือดผู้เข้าร่วมโครงการเพื่อวิเคราะห์หาระดับสารเคมีตกค้างในเลือด (ตรวจหาเอนไซม์โคลันเอสเตอเรส) ด้วยชุดทดสอบ และอ่านวิเคราะห์ผลการทดสอบเทียบกับค่ามาตรฐานที่กำหนดไว้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลการทดสอบเพื่อวิเคราะห์หาระดับสารเคมีตกค้างในเลือดของผู้เข้าร่วมการอบรม 30 ราย มีดังนี้ 1. ระดับ มีความเสี่ยง จำนวน 8 ราย คิดเป็นร้อยละ 26.67 2. ระดับ ปลอดภัย จำนวน 22 ราย คิดเป็นร้อยละ 73.33

 

30 0

2. การรวบรวมข้อมูลด้วยแบบประเมินความเสี่ยง

วันที่ 12 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

สำรวจและรวบรวมข้อมูลเกษตรกรด้วยแบบประเมินความเสี่ยงการใช้สารเคมีทางการเกษตร เพื่อสืบค้นความผิดปกติเบื้องต้นและลดความเสี่ยงจากผลกระทบต่อสุขภาพที่อาจจะเกิดขึ้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมการอบรม ทำแบบประเมินความเสี่ยงการใช้สารเคมีทางการเกษตร (แบบ นบก.1-56) เพื่อประเมินระดับความเสี่ยงของสุขภาพตนเอง โดยมีเจ้าหน้าที่อธิบายแนะนำวิธีการกรอกข้อมูลอย่างละเอียดครบถ้วน

 

30 0

3. อบรมให้ความรู้

วันที่ 12 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้สารเคมีทางการเกษตรและโทษของสารเคมีต่อสุขภาพ และวิธีการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยเมื่อมีความจำเป็นที่จะต้องใช้สารเคมีทางการเกษตร / แบ่งกลุ่มอภิปรายและให้ตัวแทนผู้เข้าร่วมการอบรมนำเสนอผลการอภิปรายกลุ่ม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมการอบรมได้รับความรู้เรื่องการใช้สารเคมีทางการเกษตรและโทษของสารเคมีต่อสุขภาพ และวิธีการป้องกันตนเองให้ปลอดภัย และร่วมเสนอปัญหาและความคิดเห็นร่วมกับวิทยากร รวมถึงร่วมกันกำหนดแนวทางการป้องกันตนเองจากสารเคมีในการประกอบอาชีพทางการเกษตร

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อป้องกันอันตรายที่อาจเกิดจากการใช้สารเคมีทางการเกษตรให้แก่ประชาชนและเกษตรกรในพื้นที่ตำบลสุไหงปาดี
ตัวชี้วัด : อัตราการป่วยจากการใช้สารเคมีทางการเกษตรลดลง ร้อยละ 60
30.00 20.00 0.00

 

2 2. เพื่อแนะนำวิธีการดูแลสุขภาพและพฤติกรรมที่เหมาะสมในการใช้สารเคมีทางการเกษตรอย่างปลอดภัย
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติได้จริง ร้อยละ 70
30.00 25.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อป้องกันอันตรายที่อาจเกิดจากการใช้สารเคมีทางการเกษตรให้แก่ประชาชนและเกษตรกรในพื้นที่ตำบลสุไหงปาดี (2) 2. เพื่อแนะนำวิธีการดูแลสุขภาพและพฤติกรรมที่เหมาะสมในการใช้สารเคมีทางการเกษตรอย่างปลอดภัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การรวบรวมข้อมูลด้วยแบบประเมินความเสี่ยง (2) การเจาะเลือดตรวจคัดกรอง (3) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการประชาชนสุขใจ ห่างไกลสารเคมี จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2543-1-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางกิตติวรรณ มะโนภักดิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด