กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านไร่


“ โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ ปี 2564 ”

ตำบลบ้านพรุ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวกัญเปมฐิษา แกล้วทนงค์

ชื่อโครงการ โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลบ้านพรุ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L8022-01-04 เลขที่ข้อตกลง ..............................

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ ปี 2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านพรุ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านไร่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านพรุ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L8022-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,240.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านไร่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) ปัญหาผลกระทบต่อสุขภาพจากการสัมผัสสารเคมีของเกษตรกร ยังเป็นปัญหาสำคัญที่ควรตระหนัก เนื่องจากมีการนำเข้าของสารเคมีกำจัดแมลงสูงขึ้น และพบผู้ป่วยด้วยโรคสารกำจัดศัตรูพืช จากฐานข้อมูลการป่วยของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่า ผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมได้รับผลกระทบต่อการสัมผัสสารเคมี ซึ่งในปี พ.ศ. 2556-2557 กรมควบคุมโรคได้ให้ความสำคัญต่อสุขภาพเกษตรกร โดยรูปแบบการบูรณาการงานของ ๔ กรมวิชาการ ได้แก่ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก และกรมสุขภาพจิต โดยมีนโยบายภายใต้ยุทธศาสตร์การพัฒนาและร่วมมือกับเครือข่ายภายในและนานาชาติ ให้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดำเนินงานจัดบริการอาชีวอนามัยให้แก่กลุ่มแรงงานในชุมชนโดยระยะแรกเริ่มดูแลเกษตรกร โดยมีการจัดตั้งคลินิกสุขภาพเกษตรกรในหน่วยบริการปฐมภูมิ จากนโยบายเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุขในการดำเนินมาตรการยุติการใช้สารเคมีในเกษตรกร ปี 2563 รวมถึงการได้รับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชจะเป็นพิษและอันตรายต่อสุขภาพ สามารถเกิดอาการแสดงเฉียบพลันตั้งแต่ระดับเล็กน้อยจนระดับรุนแรงถึงแก่ชีวิต ขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของความเป็นพิษ และปริมาณที่ได้รับ นอกจากเกษตรกรจะได้รับอันตรายจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชแล้วยังมีประชาชนทั่วไปที่บริโภคผักและผลไม้ได้รับสารพิษที่ตกค้างอยู่ได้
ตำบลบ้านพรุ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เป็นพื้นที่หนึ่งที่ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการเพาะปลูก ได้แก่ การทำนา ทำสวน ทำไร่จะเห็นได้ว่าเกษตรกรส่วนใหญ่จะใช้สารเคมีในการกำจัดศัตรูพืชโดยไม่ได้คำนึงถึงอันตรายต่อตนเองและผู้อื่น ซึ่งสารเคมีกำจัดศัตรูพืชสามารถเข้าสู่ร่างกายได้หลายทางโดยการสัมผัสทางผิวหนังจากการไม่สวมถุงมือและไม่สวมรองเท้าป้องกันขณะทำงาน การสูดหายใจละอองที่ฟุ้งในอากาศ การรับประทานอาหารและน้ำดื่มที่มีสารเคมีปนเปื้อน พฤติกรรมเหล่านี้ล้วนเป็นพฤติกรรมที่ส่งผลต่อสุขภาพเกษตรกรทั้งสิ้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพรุ ซึ่งเป็นหน่วยบริการปฐมภูมิ ได้เห็นถึงความสำคัญในการจัดกิจกรรมในครั้งนี้จึงได้จัดทำโครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ เพื่อดูแลสุขภาพเกษตรกรในชุมชน ประกอบด้วยการสำรวจข้อมูลเบื้องต้น การเจาะเลือดคัดกรองเพื่อสืบค้นความผิดปกติในระยะแรกเริ่ม ถ่ายทอดความรู้แก่เกษตรกรเกี่ยวกับอันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศตรูพืช ตลอดจนการแนะนำวิธีการรักษาเบื้องต้นโดยใช้สมุนไพรในการล้างพิษ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชและสมุนไพรล้างพิษ
  2. เพื่อเกษตรกรผู้ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจคัดกรองสารพิษตกค้าง
  3. เพื่อลดการเจ็บป่วยและอันตรายที่เกิดขึ้นจากการใช้สารเคมีกำจัดศตรูพืช

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประเมินความเสี่ยงของเกษตรกร โดยใช้แบบประเมินความเสี่ยงในการทำงานของเกษตรกรจากการสัมผัสสารเคมีกำจัดศัตรูพืช
  2. ประเมินความรู้ก่อนรับการอบรม
  3. อบรมให้ความรู้เรื่องการใช้และการป้องกันอันตรายจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่ถูกต้อง แนะนำการใช้ยาสมุนไพรรางจืดล้างพิษแก่กลุ่มเกษตรกรในตำบลบ้านพรุ
  4. ประเมินความรู้หลังรับการอบรม
  5. ตรวจเลือดเกษตรกรที่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่เข้าร่วมโครงการ
  6. จ่ายยาเกษตรกรที่มีสารพิษตกค้างในเลือดที่อยู่ในระดับไม่ปลอดภัย รับยาสมุนไพรรางจืด โดยแพทย์แผนไทยรพ.สต.บ้านพรุ พร้อมทั้งแนะนำการใช้ยาที่ถูกต้อง
  7. นัดตรวจเลือดซ้ำสำหรับเกษตรกรที่ได้รับยาสมุนไพรรางจืด
  8. สรุปผลและประเมินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชและสมุนไพรล้างพิษเพิ่มขึ้น
  2. เกษตรกรที่มีความเสี่ยงมีผลการตรวจเลือดปกติหลังจากทานสมุนไพรล้างพิษ
  3. เกษตรกรและผู้บริโภคปลอดภัยจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชและสมุนไพรล้างพิษ
ตัวชี้วัด : เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชและสมุนไพรล้างพิษ ร้อยละ 80
100.00 80.00

 

2 เพื่อเกษตรกรผู้ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจคัดกรองสารพิษตกค้าง
ตัวชี้วัด : เกษตรกรผู้ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจคัดกรองสารพิษตกค้าง ร้อยละ 80
100.00 80.00

 

3 เพื่อลดการเจ็บป่วยและอันตรายที่เกิดขึ้นจากการใช้สารเคมีกำจัดศตรูพืช
ตัวชี้วัด : เกษตรกรที่มีผลเลือดอยู่ในระดับมีความเสี่ยงและไม่ปลอดภัยมีผลการตรวจเลือดลดลงอยู่ในระดับปลอดภัยและปกติหลังจากทานสมุนไพรล้างพิษ ร้อยละ 80
100.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชและสมุนไพรล้างพิษ (2) เพื่อเกษตรกรผู้ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจคัดกรองสารพิษตกค้าง (3) เพื่อลดการเจ็บป่วยและอันตรายที่เกิดขึ้นจากการใช้สารเคมีกำจัดศตรูพืช

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประเมินความเสี่ยงของเกษตรกร โดยใช้แบบประเมินความเสี่ยงในการทำงานของเกษตรกรจากการสัมผัสสารเคมีกำจัดศัตรูพืช (2) ประเมินความรู้ก่อนรับการอบรม (3) อบรมให้ความรู้เรื่องการใช้และการป้องกันอันตรายจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่ถูกต้อง แนะนำการใช้ยาสมุนไพรรางจืดล้างพิษแก่กลุ่มเกษตรกรในตำบลบ้านพรุ (4) ประเมินความรู้หลังรับการอบรม (5) ตรวจเลือดเกษตรกรที่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่เข้าร่วมโครงการ (6) จ่ายยาเกษตรกรที่มีสารพิษตกค้างในเลือดที่อยู่ในระดับไม่ปลอดภัย รับยาสมุนไพรรางจืด โดยแพทย์แผนไทยรพ.สต.บ้านพรุ พร้อมทั้งแนะนำการใช้ยาที่ถูกต้อง (7) นัดตรวจเลือดซ้ำสำหรับเกษตรกรที่ได้รับยาสมุนไพรรางจืด (8) สรุปผลและประเมินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ ปี 2564 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L8022-01-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวกัญเปมฐิษา แกล้วทนงค์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด