กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูคละ


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมด้วยกรรมวิธีการแพทย์แผนไทย (รพ.สต.บ้านไม้ฝาด) ”

จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางแวมีเนาะ มะรือสะ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมด้วยกรรมวิธีการแพทย์แผนไทย (รพ.สต.บ้านไม้ฝาด)

ที่อยู่ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-l2518-1-023 เลขที่ข้อตกลง 24/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 ธันวาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมด้วยกรรมวิธีการแพทย์แผนไทย (รพ.สต.บ้านไม้ฝาด) จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูคละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมด้วยกรรมวิธีการแพทย์แผนไทย (รพ.สต.บ้านไม้ฝาด)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมด้วยกรรมวิธีการแพทย์แผนไทย (รพ.สต.บ้านไม้ฝาด) " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-l2518-1-023 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 ธันวาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูคละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ศาสตร์การแพทย์แผนไทยเป็นภูมิปัญญาของบรรพบุรุษในการบำบัดความเจ็บป่วยในชุมชนแบบพื้นบ้าน ซึ่งมีความหลากหลายและเป็นเอกลักษณ์ที่แตกต่างกันไปตามแต่ละท้องถิ่น และรูปแบบการรักษามีทั้งการใช้ยาสมุนไพรรักษาสุขภาพและความเจ็บป่วยของประชาชนได้เป็นอย่างดี แต่ในปัจจุบันองค์ความรู้การดูแลสุขภาพและภูมิปัญญาด้านการใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชนได้ขาดหายไป ซึ่งผู้ที่มีความรู้เกี่ยวกับศาสตร์แพทย์แผนไทยส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุที่นับวันจะมีจำนวนลดลงทำให้ชุมชนรับประโยชน์จากภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านน้อยลง ด้วยเหตุนี้สมควรเป็นอย่างยิ่งที่จะสืบต่อองค์ความรู้ที่มีอยู่มาดูแลสุขภาพต่อไปมิให้สูญหาย สถานการณ์ประเทศไทยในปัจจุบันประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากรายงานสำนักงานสถิติแห่งชาติในปี 2562 ผู้สูงอายุในประเทศไทยมีถึงประมาณ 11.13 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 16.73 ของประชากรทั้งประเทศ ที่มีอยู่ 66.55 ล้านคน องค์การสหประชาชาติได้ให้นิยามว่าประเทศใดมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป ในสัดส่วนเกิน 10% ของประชากรทั้งประเทศ ถือว่าประเทศนั้นได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) ดังนั้นประเทศไทยจึงนับได้ว่าได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุแล้ว
เนื่องจากผู้สูงอายุเป็นวัยที่มีสภาพร่างกายที่ถดถอย อวัยวะภายในร่างกายลดประสิทธิภาพการทำงานไปตามอายุที่มากขึ้นและไม่สามารถซ่อมแซมกลับคืนสู่สภาพปกติได้ ทำให้ผู้สูงอายุมีโอกาสเป็นโรคต่างๆ จากการประเมินสภาวะสุขภาพ พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่ต้องเผชิญกับปัญหาสุขภาพเพิ่มขึ้น จากการศึกษาภาวะสุขภาพผู้สูงอายุไทย พบว่า ผู้สูงอายุมีปัญหาปวดข้อเข่าเป็นส่วนใหญ่ คิดเป็นร้อยละ 43.95 จากผลการสำรวจสุขภาวะของผู้สูงอายุในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไม้ฝาด พบว่ามีผู้สูงอายุทั้งหมด 455 คน และมีผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อมในปี 2561 จำนวน 38 คน ปี 2562 จำนวน 57 คน และในปี 2563 จำนวน 89 คน ผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อมเพิ่มมากขึ้นทุกปี ซึ่งมีสาเหตุมาจาก ข้อเข่าเสื่อม เนื่องจากข้อเข่าเป็นข้อที่ต้องรองรับน้ำหนักของร่างกายโดยตรงทำให้ผู้สูงอายุเกิดความยากลำบากในการเคลื่อนไหวส่งผลให้คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุลดลงเป็นอุปสรรคในการใช้ชีวิตประจำวัน ทำให้สูญเสียเวลาและค่าใช้จ่ายในการรักษาจำนวนมาก และส่งผลต่อร่างกายจากการใช้ยาแก้ปวดหรือวิธีการจัดการอาการปวดที่ไม่เหมาะสมความเจ็บปวดส่งผลให้ผู้สูงอายุ ต้องหาวิธีการที่จะจัดการกับอาการโดยการซื้อยากินเองถึงร้อยละ 3.9 ซึ่งอาจเกิดผลข้างเคียงจากการใช้ยาได้ เช่น ระคายเคืองเยื่อบุกระเพาะอาหาร อาการปวดข้อเข่าสามารถที่จะบรรเทาได้โดยไม่ต้องใช้ยาแก้ปวด เช่น การใช้ยาสมุนไพรในท้องถิ่นช่วยลดอาการปวดเข่า ลดปัญหาผลข้างเคียงจากการใช้ยาแผนปัจจุบัน และยังทำให้ผู้สูงอายุหันมาใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นแทน การประคบสมุนไพรจะกระตุ้นการไหลเวียนของเลือดทำให้อาการปวดเข่าลดลง การบริหารท่าฤๅษีดัดตนที่จะช่วยชะลอความเสื่อมของข้อเข่าในผู้สูงอายุ การออกกำลังกายหรือการบริหารกล้ามเนื้อรอบเข่ามีผลในการเพิ่มกำลังของกล้ามเนื้อ การประคบสมุนไพรจะกระตุ้นการไหลเวียนของเลือดทำให้อาการปวดเข่าลดลง แพทย์แผนไทยเป็นศาสตร์หนึ่งที่ช่วยเสริมสร้างสุขภาพให้กับคนในชุมชนได้แบบปฐมภูมิ ประชาชนสามารถพึ่งพาตนเองได้มากขึ้น สมุนไพรไทยจึงนับเป็นทางเลือกหนึ่งที่ช่วยในการดูแลส่งเสริมสุขภาพและยังเป็นการลดค่าใช้จ่ายในการรักษาโรค ดังนั้นเพื่อสนับสนุนโยบายของรัฐบาลและตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ เพื่อพัฒนาระบบบริการด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคทางแพทย์แผนไทยให้อยู่ในระดับที่ดีและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไม้ฝาด จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย เพื่อให้ประชาชนได้มีทางเลือกในการรักษามากขึ้น แบบครบวงจร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการและเพื่อความสะดวกในการเข้าถึงของผู้รับบริการมากยิ่งขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อมพร้อมได้รับคำแนะนำการใช้สมุนไพรในท้องถิ่น และรับการตรวจคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อม ในการดูแลสุขภาพตนเองที่เหมาะสม
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการฟื้นฟูสุขภาพร่างกายด้วยการพอกเข่า ตามแผนการรักษาของแพทย์แผนไทย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้และตรวจคัดกรองเกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองข้อเข่าเสื่อม มีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคข้อเข่าเสื่อมสามารถเลือกใช้สมุนไพรในท้องถิ่นเพื่อลดอาการปวดเข่าและสามารถนำสมุนไพรในท้องถิ่นมาพอกเข่าสมุนไพรใช้ที่บ้านเองได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อมพร้อมได้รับคำแนะนำการใช้สมุนไพรในท้องถิ่น และรับการตรวจคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อม ในการดูแลสุขภาพตนเองที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 90 ผู้สูงอายุในตำบลไม้ฝาด ได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม และได้รับการคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อมและสามารถเลือกใช้สมุนไพรในท้องถิ่น
1.00

 

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการฟื้นฟูสุขภาพร่างกายด้วยการพอกเข่า ตามแผนการรักษาของแพทย์แผนไทย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ผู้สูงอายุที่ได้รับการวินิจฉัยตามข้อบ่งชี้ทางการแพทย์แผนไทยได้รับการพอกเข่า
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อมพร้อมได้รับคำแนะนำการใช้สมุนไพรในท้องถิ่น และรับการตรวจคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อม ในการดูแลสุขภาพตนเองที่เหมาะสม (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการฟื้นฟูสุขภาพร่างกายด้วยการพอกเข่า ตามแผนการรักษาของแพทย์แผนไทย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้และตรวจคัดกรองเกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมด้วยกรรมวิธีการแพทย์แผนไทย (รพ.สต.บ้านไม้ฝาด) จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-l2518-1-023

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางแวมีเนาะ มะรือสะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด