กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการคัดกรองโรคเรื้อรัง (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง) ”
จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นายสุกรีย์ โตสุจริตธรรม




ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองโรคเรื้อรัง (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง)

ที่อยู่ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 พฤษภาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองโรคเรื้อรัง (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง) จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำภูรา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองโรคเรื้อรัง (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองโรคเรื้อรัง (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง) " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 พฤษภาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 58,240.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำภูรา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันพบว่าการป่วยด้วยโรคติดต่อ เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด กำลังทวีความรุนแรง และเพิ่มอย่างรวดเร็ว ล้วนเป็นสาเหตุสำคัญของการตายและความพิการทั่วโลกที่สูงมาก องค์การอนามัยโลก(word Heath Organization ) ประมาณไว้ว่า การตาย การเจ็บป่วย และความพิการ ส่วนใหญ่ เป็นผลมาจากโรคไม่ติดต่อและเป็นสาเหตุการตายที่สูงมาก ดังรายงานในปี ค.ศ.2004 พบมีผู้เสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อ ถึงร้อยละ 60และเป็นภาระโรค(Burden) จากโรคไม่ติดต่อถึงร้อยละ 43 จากภาระโรคระดับโลก และคาดการณ์ไว้ว่าปี พ.ศ.2563จะมีผู้เสียชีวิตด้วยโรคไม่ติดต่อทั้งหมดสูงถึงร้อยละ 73 ของการตายทั้งหมดและภาระโรคจะเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 60 สำหรับประเทศไทยนั้นก็ประสบกับปัญหาเช่นดียวกัน ดังที่สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขได้วิเคราะห์ข้อมูลจำนวนและอัตราตายด้วยโรคไม่ติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญของประเทศ ในช่วง พ.ศ.2550-2560 นั้นพบว่า จำนวนและอัตราตายด้วยโรคหัวใจขาดเลือด มีแนวโน้มสูงขึ้น จำนวนและอัตราป่วยกลุ่มโรคหัวใจและหลอดเลือดพบว่า โรคหลอดเลือดสมอง เพิ่มขึ้นจาก75.0 ต่อประชากรแสนคน ในปี พ.ศ.2550 เป็น205.5 ต่อประชากรแสนคน ในปีพ.ศ. 2560 โรคหัวใจขาดเลือดเพิ่มขึ้น จาก 49.0 ต่อประชากรแสนคนในปี พ.ศ.2550 เป็น 261.3ต่อประชากรแสนคน ในปี พ.ศ. 2560 โรคเบาหวาน เพิ่มขึ้นจาก148.7 ต่อประชากรแสนคน ในปี พ.ศ.2550 เป็น 650.4 9ต่อประชากรแสนคน ในปี พ.ศ. 2560 ตลอดจนโรคความดันโลหิตสูง เพิ่มขึ้น จาก 158.0 ต่อประชากรแสนคน ในปี พ.ศ.2560 เป็น 778.1 ต่อประชากรแสนคน ในภาวะสังคมและเศรษฐกิจของประเทศไทยในปัจจุบัน มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการดำเนินชีวิตประจำวัน จากสังคมในชนบทมีแนวโน้มการปฏิบัติตัวแบบสังคมเมืองมากขึ้น เพราะผลพวงจากความเจริญก้าวหน้าทางด้านคมนาคม การติดต่อสื่อสาร เทคโนโลยีต่างๆ การเจ็บป่วยของประชาชนเปลี่ยนไปจากโรคติดต่อมากขึ้น โดยเฉพาะโรคที่เกิดจากพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่ได้สัดส่วนตลอดจนภาวะเครียดต่างๆ จากการแข่งขัน ภาวะเศรษฐกิจ พฤติกรรมเหล่านี้ได้กลายเป็นปัญหาที่สำคัญของประเทศไทยในปัจจุบัน นำไปสู่การเจ็บป่วยด้วยโรคภัยหลายโรค ซึ่งโรคที่เกิดจากพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้อง จะเป็นโรคที่ไม่แสดงอาการหรือความรุนแรงให้เห็น ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจหลอดเลือด โรคมะเร็ง ซึ่งโรคดังกล่าวเป็นโรคที่เสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลสูง และอาจกลายเป็นภาระของญาติหรือครอบครัวที่ต้องช่วยกันดูแลผู้ป่วยมากขึ้นในปัจจุบัน ตามนโยบาย ปี 2564 ได้กำหนดตัวชี้วัดว้าว่าประชากรอายุ 30 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจน้ำตาลในเลือดและวัดความดันโลหิตอย่างน้อย 1 ครั้งในรอบ 1 ปี ร้อยละ 90 ในตำบลลำภูรามีประชากรอายุ 30 ปีขึ้นไป มีจำนวน 1020 คนและนโยบายสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ช่วยคนไทยห่างไกลโรค มีเป้าหมายที่สำคัญ คือ การสร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชน และลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาว โดยใช้กระบวนการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการขับเคลื่อนให้การดำเนินงานช่วยคนไทยห่างไกลโรคให้บรรลุผลสำเร็จ และได้ขยายขอบเขตการบริการส่งเสริมสุขภาพไปยังกลุ่มผู้มีสิทธิในการรักษาทุกประเภท เพื่อให้มีความรู้และทักษะในการดูแลตนเองและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยใช้หลัก 3 อ. เป็นหลัก เพื่อให้มีสุขภาวะในทุกด้าน เพื่อให้การดำเนินงานครอบคลุมเป้าหมายในพื้นที่และผลงานได้ตามยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบสุขภาพจังหวัดตรัง สถานการณ์โรคไม่ติดต่อตำบลลำภูรา อัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง ปี 2560,2561,2562,พบ646.81,1710.41,1641.02 ต่อประชากรแสนคน ตามลำดับ อัตราป่วยโรคเบาหวาน ปี 2560,2561,2562 พบ493.62,558.85,1371.29 ต่อประชากรแสนคน มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น โรคติดต่อเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ เนื่องจากเป็นโรคที่เกิดจากพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้อง และเป็นโรคที่ไม่แสดงอาการทันทีทันใด กระทรวงสาธารณสุข จึงมีนยาบายให้บริการสาธารณสุขมีการคัดกรองเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อในกลุ่มประชากร 30 ปีขึ้นไป เมื่อพบกลุ่มเสี่ยงต่อโรคจะได้ให้ความรู้เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันการเกิดโรคและเมื่อพบผู้ป่วยก็ได้ส่งรับการรักษาตามเกณฑ์มาตรฐานต่อไป โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำภูรา อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงมาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อตรวจคัดกรองโรคเรื้อรังครอบคลุมและมีอุปกรณ์เพียงพอในการบริการในชุมชน
  2. เพื่อกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลป้องกันโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการคัดกรองโรคเรื้อรัง (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,020
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชากรอายุ 30 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรอง โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง 2.ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อตรวจคัดกรองโรคเรื้อรังครอบคลุมและมีอุปกรณ์เพียงพอในการบริการในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ของประชากรอายุ 30 ปีขึ้นไปในพื้นที่ตำบลลำภูราได้รับการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
0.00

 

2 เพื่อกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลป้องกันโรค
ตัวชี้วัด : ร้อยละกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลป้องกันโรค
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1020
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,020
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อตรวจคัดกรองโรคเรื้อรังครอบคลุมและมีอุปกรณ์เพียงพอในการบริการในชุมชน (2) เพื่อกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลป้องกันโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการคัดกรองโรคเรื้อรัง (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรองโรคเรื้อรัง (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง) จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุกรีย์ โตสุจริตธรรม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด