กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการโภชนาการสมส่วน พัฒนาการสมวัย
รหัสโครงการ 64-L3069-10(3)13
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลปุโละปุโย
วันที่อนุมัติ 1 มกราคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 20,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปูโละปูโย อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ม.ค. 2564 30 ก.ย. 2564 20,000.00
รวมงบประมาณ 20,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 53 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 เด็กเล็ก (2-6ปี) มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ
100.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากข้อมูลการประเมินโภชนาการของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลปุโละปุโย จากจำนวนเด็กนักเรียน 53 คน พบว่า เด็กนักเรียนมีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ (น้ำหนัก ส่วนสูงไม่ตามเกณฑ์) จำนวน 9 คน
คิดเป็นร้อยละ 17 อาหารและภาวะโภชนาการที่ดีเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของเด็ก ปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กปฐมวัย ได้แก่ ภาวะการเจริญเติบโตไม่สมวัย จากโรคขาดสารอาหาร ภาวะโภชนาการเกินการขาดสารไอโอดีน ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก โดยมีสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ลดลง การให้อาหารตามวัยแก่เด็กเร็วเกินไปและไม่ถูกต้อง ซึ่งจะส่งผลต่อพัฒนาการเด็ก โดยเด็กปฐมวัยต้องมีความพร้อมของพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ – จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญาจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการส่งเสริมพัฒนาการและเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กเล็ก หากมีสิ่งใดมาทำให้การเจริญเติบโตต้องชะงักไป จะเป็นผลเสียต่อเด็กเป็นอย่างยิ่ง อาจทำให้เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพด้อยไปได้ เด็กจึงควรได้รับพลังงานและสารอาหารอย่างเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย การให้อาหารเด็กอย่างไม่เหมาะสมหรือไม่ครบทั้ง 5 หมู่ จะทำให้การเจริญเติบโตหยุดชะงัก มีระดับสติปัญญาไม่ดีเท่าที่ควร และเจ็บป่วยบ่อย เด็กควรได้กินอาหารหลักครบทั้ง 5 หมู่ ในแต่ละชนิดควรกินให้หลากหลายชนิด วันละ 3 มื้อ และดื่มนมเป็นอาหารเสริม

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวั

ผู้ปกครองร้อยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย

100.00 80.00
2 เพื่อเฝ้าระวังติดตามภาวะโภชนาการในกลุ่มเด็กปฐมวัย

เด็กนักเรียนร้อยละ 80 มีส่วนสูงและน้ำหนักตามเกณฑ์

100.00 80.00
3 เพื่อส่งเสริมเด็กปฐมวัยมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองตามวัย

เด็กนักเรียนร้อยละ 80 มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองตามวัย

100.00 80.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 20,000.00 0 0.00
1 ม.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 - กิจกรรมจัดอบรมเกี่ยวกับอาหารที่มีประโยชน์ มีสารอาหารครบ 5 หมู่ 0 11,670.00 -
1 ม.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 - สาธิตการทำเมนูอาหาร 0 4,330.00 -
1 ม.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 - กิจกรรมการประกวดหนูน้อยสุขภาพดี 0 4,000.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย 2.ผู้ปกครองสามารถเฝ้าระวังติดตามภาวะโภชนาการในกลุ่มเด็กปฐมวัย
3.เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตตามวัย

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2563 00:00 น.