กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน


“ โครงการเสริมพลังประชาชนกลุ่มเสี่ยงเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ”

ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสกาวเดือน ขาวล้วน

ชื่อโครงการ โครงการเสริมพลังประชาชนกลุ่มเสี่ยงเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน

ที่อยู่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64-L8429-1-15 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมพลังประชาชนกลุ่มเสี่ยงเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมพลังประชาชนกลุ่มเสี่ยงเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมพลังประชาชนกลุ่มเสี่ยงเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 64-L8429-1-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)   ปัจจุบันเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของประชาชนและมีการแข่งขันสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัว นิยมวัฒนธรรมตะวันตกมากขึ้น จึงทำให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง เช่น การเร่งรีบกับการทำงานบริโภคอาหารโดยไม่คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง ขาดการออกกำลังกาย เครียด ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขเป็นกลุ่มโรคที่มีปัจจัยสาเหตุการนำไปสู่โรคจากปัจจัยเสี่ยงร่วม และเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ซึ่งโรคนี้สามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น การรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการและมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม ในกลุ่มประชากรทีมีภาวะเสี่ยงสูงถ้าไม่ได้รับการดูแลหรือการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมอาจพัฒนาเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้ในอนาคต อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาทำให้เป็นภาระต่อเศรษฐกิจ สังคม และครอบครัว ที่ต้องทำหน้าที่ดูแลส่วนปัจจัยด้านอื่นๆ ที่อาจมีความเกี่ยวเนื่องกันได้ก็คือ พันธุกรรม และสิ่งแวดล้อม ซึ่งพบว่าคนที่มีบิดา มารดา มีภาวะความดันโลหิตสูงก็มักจะมีโอกาสเสี่ยงมากกว่าคนที่บิดา มารดามีภาวะความดันโลหิตปกติส่วนในเรื่องปัจจัยแวดล้อม เช่น มีน้ำหนักตัวมาก สูบบุหรี่จัด ดื่มสุราจัด มีระดับไขมัน

ในเลือดสูงและมีความเครียดก็มีผลทำให้ภาวะความดันโลหิตสูงเช่นกันและโรคเบาหวานเป็นอีกหนึ่งโรคเรื้อรังอันตรายที่มักพบร่วมกันกับโรคความดันโลหิตสูง และมักจะค่อยสูงขึ้นและร่างกายก็ค่อยๆปรับตัวให้เข้ากับภาวะความดันโลหิตที่สูงขึ้น
  จากการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในประชากรที่มีอายุ 35 ปี ขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไร่ออก ในปี 256๓ สามารถคัดกรองโรคเบาหวานครอบคลุมร้อยละ 99.๑๖ ของประชากร และคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงร้อยละ 99.๒5 ของประชากร พบอัตราป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ ๔๐๗.๐๘ ต่อแสนประชาชน พบอัตราโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ ๖๗๔.๓๓ ต่อแสนประชาชน การค้นหากลุ่มโรคดังกล่าว ควรเริ่มจากการคัดกรองความเสี่ยงในประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้แก่ ระดับความดันโลหิต ประเมินดัชนีมวลกาย วัดเส้นรอบเอว การตรวจสอบประวัติความเจ็บป่วยและความเจ็บป่วยของบิดา มารดา ญาติสายตรง และการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด จากสถานการณ์โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไร่ออก ได้เล็งเห็นความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพเชิงรุกและการรักษาพยาบาลอย่างเข้าถึงชุมชน เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไร่ออก เกิดพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงอย่างถูกต้อง จึงได้จัดทำโครงการ“เสริมพลังประชาชนกลุ่มเสี่ยงเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน”อันจะทำให้ลดอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มได้ในระยะยาว

วิธีดำเนินการ
1.ระยะเตรียมการ 1.1 เสนอโครงการเพื่อขอการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ่อหิน 1.2 ประชาสัมพันธ์โครงการเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับทราบและเตรียมตัวและเข้าร่วมโครงการ 2. ระยะดำเนินการ กิจกรรมที่ 1 2.1 อบรมเสริมสร้างศักยภาพความรู้และพัฒนาทักษะด้านสุขภาพแก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) และ ผู้นำหมู่บ้าน โดยประเด็นดังนี้   - แนวทางการขับเคลื่อนการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง   - บทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)และบทบาทของผู้นำหมู่บ้านในการส่งเสริมและป้องกันภาวะการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน   - แผนปฏิบัติการลงพื้นที่คัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไร่ออก   - แนวทางการดำเนินงานมาตรฐานอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเรื่องการเจาะเลือดฝอยจากปลายนิ้วเพื่อคัดกรองโรคเบาหวานโดยใช้เครื่องตรวจน้ำตาลในเลือดชนิดพกพา รวมทั้งการอ่านค่าและการแปลผล   - ฝึกปฏิบัติทักษะในการตรวจวัดความดันโลหิต การเจาะเลือดปลายนิ้วหาระดับแนวทางในการปฏิบัติการเชิงรุกในการให้บริการตรวจคัดกรอง กิจกรรมที่ 2 2.2 การคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงประชากร 35 ปีขึ้นไป
- สำรวจจำนวนกลุ่มเป้าหมายและจัดทำทะเบียนรายชื่อประชากรกลุ่มอายุ๓๕ ปีขึ้นไป หมู่ที่4,5 และหมู่ 7 ตำบลบ่อหิน เพื่อเตรียมความพร้อมจำนวนกลุ่มเป้าหมาย - อสม.และผู้นำหมู่บ้านในเขตพื้นที่รับผิดชอบแต่ละหมู่บ้านประชาสัมพันธ์การคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับทราบและเตรียมตัวและเข้ารับการคัดกรองอย่างครอบคลุม - เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และอสม.พร้อมทั้งผู้นำหมู่บ้านลงพื้นที่ออกตรวจคัดกรองสุขภาพประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปให้บริการตรวจคัดกรองสุขภาพโดยกระบวนการ ชั่งน้ำหนัก วัดความดันโลหิต วัดรอบเอว เจาะน้ำตาลในเลือดจากปลายนิ้ว (DTX)  และประเมินค่าดัชนีมวลกาย พร้อมบันทึกการตรวจคัดกรองความเสี่ยงในแบบฟอร์มคัดกรอง
- ส่งต่อผู้ที่ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงที่มีผลเลือดและระดับความดันโลหิตเกินเกณฑ์พบแพทย์ เพื่อตรวจวินิจฉัยยืนยันและรับการรักษาอย่างถูกต้อง

3.ระยะสรุปผลและประเมินโครงการ - เจ้าหน้าที่สาธารณสุขสรุปผลการคัดกรองโดยแยกกลุ่ม กลุ่มปกติ และกลุ่มผู้ที่พบภาวะเสี่ยงเข้าสู่กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือกลุ่มเสี่ยงสูงส่งต่อพบแพทย์เพื่อยืนยันและเข้ารับการรักษาอย่างต่อเนื่อง - สรุปผลการดำเนินงานโครงการต่อคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบ่อหิน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มศักยภาพความรู้และพัฒนาทักษะด้านสุขภาพให้ อสม/ผู้นำหมู่บ้าน ให้มีความรู้ ความเข้าใจ ในการส่งเสริมและป้องกันภาวะการเกิดโรคเบาหวานและ โรคความดันโลหิตสูงในชุมชน
  2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เพื่อค้นหาความเสี่ยงในระยะเริ่มต้น
  3. เพื่อให้ผู้ที่ผ่านการคัดกรองสุขภาพและพบความผิดปกติ ได้รับการส่งต่อเพื่อตรวจวินิจฉัยยืนยันและรับการรักษาอย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ ๑ อบรมเสริมสร้างศักยภาพความรู้และพัฒนาทักษะด้านสุขภาพแก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) และผู้นำหมู่บ้าน กิจกรรมที่ ๒ ตรวจการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงประชากร 35 ปีขึ้นไป

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,393
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และผู้นำหมู่บ้าน มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการส่งเสริมและป้องกันภาวะการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน 2.ประชาชน อายุ35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง 3.ผู้ที่พบความผิดปกติ ได้รับการส่งต่อเพื่อตรวจวินิจฉัยยืนยันและรับการรักษาอย่างถูกต้อง ทันท่วงที ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรค


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ ๑ อบรมเสริมสร้างศักยภาพความรู้และพัฒนาทักษะด้านสุขภาพแก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) และผู้นำหมู่บ้าน กิจกรรมที่ ๒ ตรวจการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงประชากร 35 ปีขึ้นไป

วันที่ 11 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

๑. จัดกิจกรรม เสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มแกนนำสตรีอายุ 30-60 ปี  ๑.๑ หมู่ที่ 4 บ้านไสต้นวา จำนวน 20 คน ๑.๒ หมู่ที่ 5 บ้านไร่ออก จำนวน 20 คน ๑.๓ หมู่ที่ 7 บ้านใหม่ จำนวน 20 คน รวมจำนวน  60  คน ๒. จัดรณรงค์ให้ความรู้และประชาสัมพันธ์การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในประชาชนหญิงอายุ ๓๐–๖๐ปี จำนวน ๕00 คน (จัดรณรงค์จำนวน ๑๐ กลุ่มๆละ 50 คน)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.แกนนำสตรีอายุ 30-60 ปี จำนวน ๖๐ คน ที่ผ่านการเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สามารถใช้ศักยภาพในการดูแลตนเองและให้คำปรึกษา สามารถถ่ายทอดความรู้ให้คำแนะนำแก่กลุ่มสตรีเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.สตรีกลุ่มเป้าหมายสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้อง,ต่อเนื่องเป็นประจำและสามารถค้นหา,ตรวจวินิจฉัยโรคและได้รับการรักษาได้อย่างทันท่วงที 3.อัตราป่วย/ตาย โรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมลดลง 4.สตรีอายุ 30-60 ปี ที่ตรวจพบผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่โรงพยาบาลได้อย่างทันท่วงที ทุกคน

 

1,393 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มศักยภาพความรู้และพัฒนาทักษะด้านสุขภาพให้ อสม/ผู้นำหมู่บ้าน ให้มีความรู้ ความเข้าใจ ในการส่งเสริมและป้องกันภาวะการเกิดโรคเบาหวานและ โรคความดันโลหิตสูงในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๙๐ ของอสมและผู้นำหมู่บ้านมีศักยภาพความรู้,ความเข้าใจ และทักษะในการส่งเสริมและป้องกันภาวะการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน
90.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เพื่อค้นหาความเสี่ยงในระยะเริ่มต้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๙๕ ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจ คัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
95.00

 

3 เพื่อให้ผู้ที่ผ่านการคัดกรองสุขภาพและพบความผิดปกติ ได้รับการส่งต่อเพื่อตรวจวินิจฉัยยืนยันและรับการรักษาอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๑๐๐ ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่ผ่านการคัดกรองพบความผิดปกติ ได้รับการส่งต่อและรับการรักษา
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1393
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,393
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มศักยภาพความรู้และพัฒนาทักษะด้านสุขภาพให้ อสม/ผู้นำหมู่บ้าน ให้มีความรู้ ความเข้าใจ ในการส่งเสริมและป้องกันภาวะการเกิดโรคเบาหวานและ  โรคความดันโลหิตสูงในชุมชน (2) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เพื่อค้นหาความเสี่ยงในระยะเริ่มต้น (3) เพื่อให้ผู้ที่ผ่านการคัดกรองสุขภาพและพบความผิดปกติ ได้รับการส่งต่อเพื่อตรวจวินิจฉัยยืนยันและรับการรักษาอย่างถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ ๑  อบรมเสริมสร้างศักยภาพความรู้และพัฒนาทักษะด้านสุขภาพแก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) และผู้นำหมู่บ้าน  กิจกรรมที่ ๒  ตรวจการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงประชากร 35 ปีขึ้นไป

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเสริมพลังประชาชนกลุ่มเสี่ยงเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64-L8429-1-15

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสกาวเดือน ขาวล้วน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด