กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนขนุน


“ โครงการลดหวาน-มัน-เค็ม-ลดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ”

ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางพรรณี นวลขาว

ชื่อโครงการ โครงการลดหวาน-มัน-เค็ม-ลดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง

ที่อยู่ ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2564-L3311-2-16 เลขที่ข้อตกลง 7/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 ธันวาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลดหวาน-มัน-เค็ม-ลดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนขนุน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลดหวาน-มัน-เค็ม-ลดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง  มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการ ดูแลสุขภาพตนเอง มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง (2) 1. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ได้เข้าร่วม กิจกรรมกลุ่ม และรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง สามารถควบคุม ระดับน้ำตาลในเลือด และระดับความดันโลหิตได้ดีขึ้น (3) 1. เพื่อให้ผู้ป่วยที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด หรือระดับ ความดันโลหิต ไม่ได้  ได้รับการติดตาม เยี่ยมบ้าน (4) 4.เพื่อป้องกันและชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ จากการดำเนินโครงการพบว่ากลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมโครงการ ชุมชนสามารถควบคุมพฤติกรรมและไม่ได่เป๋นผู้ป่วยใหม่ มีการปลูกผักสวนครัวประมาณ 80% ส่วนใหญ่มีการออกกำลังกายโดยการเดิน วิ่ง ญาติมีการปรับเรื่องเมนูสุขภาพในครอบครัว ประชาชนในหมู่บ้านต้นแบบ ลดโรค มีความรู้และพฤติกรรมในการออกกำลังกายสม่ำเสมอ จำนวนผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมโรคได้ร้อยละ 60

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง การดำเนินงานคือ คัดกรองและจำแนกเป็น กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย หลังจากนั้นดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยใช้หลัก 3 อ. 2 ส.เพื่อควบคุม ป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ชมรม อสม.หมู่ที่ 5 ตำบลควนขนุน ได้เล็งเห็นความสำคัญในการแก้ไขปัญหา โดยมุ่งเน้นที่การป้องกันและควบคุมปัจจัยเสี่ยงที่เป็นสาเหตุหลักของการเกิดโรคและมีการสนับสนุนให้เกิดกระบวนการจัดการตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสามารถลดโรคโดยให้ประชาชน รับรู้ เข้าใจ ตระหนักถึงภาวะเสี่ยงสามารถปรับพฤติกรรมควบคุมป้องกันปัจจัยเสี่ยงได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการ ดูแลสุขภาพตนเอง มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง
  2. 1. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ได้เข้าร่วม กิจกรรมกลุ่ม และรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง สามารถควบคุม ระดับน้ำตาลในเลือด และระดับความดันโลหิตได้ดีขึ้น
  3. 1. เพื่อให้ผู้ป่วยที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด หรือระดับ ความดันโลหิต ไม่ได้ ได้รับการติดตาม เยี่ยมบ้าน
  4. 4.เพื่อป้องกันและชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 60
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.จำนวนผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงรายใหม่ ลดลง
          2.ผู้ป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมโรคได้ร้อยละ 60       3.ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด หรือระดับความดันโลหิตไม่ได้  ทุกคนได้รับการเยี่ยมบ้าน       4.จำนวนผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน เช่น โรคหลอดเลือดสมอง รายใหม่ลดลง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    จากการดำเนินโครงการพบว่ากลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมโครงการ ชุมชนสามารถควบคุมพฤติกรรมและไม่ได่เป๋นผู้ป่วยใหม่ มีการปลูกผักสวนครัวประมาณ 80% ส่วนใหญ่มีการออกกำลังกายโดยการเดิน วิ่ง ญาติมีการปรับเรื่องเมนูสุขภาพในครอบครัว ประชาชนในหมู่บ้านต้นแบบ ลดโรค มีความรู้และพฤติกรรมในการออกกำลังกายสม่ำเสมอ จำนวนผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมโรคได้ร้อยละ 60

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการ ดูแลสุขภาพตนเอง มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : 1. จำนวนผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงรายใหม่ ลดลง
    0.00

     

    2 1. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ได้เข้าร่วม กิจกรรมกลุ่ม และรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง สามารถควบคุม ระดับน้ำตาลในเลือด และระดับความดันโลหิตได้ดีขึ้น
    ตัวชี้วัด : 2.ผู้ป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมโรคได้ร้อยละ 60
    0.00

     

    3 1. เพื่อให้ผู้ป่วยที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด หรือระดับ ความดันโลหิต ไม่ได้ ได้รับการติดตาม เยี่ยมบ้าน
    ตัวชี้วัด : 3.ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด หรือระดับความดันโลหิตไม่ได้ ทุกคนได้รับการเยี่ยมบ้าน
    0.00

     

    4 4.เพื่อป้องกันและชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อน
    ตัวชี้วัด : 4.จำนวนผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน เช่น โรคหลอดเลือดสมอง รายใหม่ลดลง
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 160 160
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 60 60
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง  มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการ ดูแลสุขภาพตนเอง มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง (2) 1. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ได้เข้าร่วม กิจกรรมกลุ่ม และรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง สามารถควบคุม ระดับน้ำตาลในเลือด และระดับความดันโลหิตได้ดีขึ้น (3) 1. เพื่อให้ผู้ป่วยที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด หรือระดับ ความดันโลหิต ไม่ได้  ได้รับการติดตาม เยี่ยมบ้าน (4) 4.เพื่อป้องกันและชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ จากการดำเนินโครงการพบว่ากลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมโครงการ ชุมชนสามารถควบคุมพฤติกรรมและไม่ได่เป๋นผู้ป่วยใหม่ มีการปลูกผักสวนครัวประมาณ 80% ส่วนใหญ่มีการออกกำลังกายโดยการเดิน วิ่ง ญาติมีการปรับเรื่องเมนูสุขภาพในครอบครัว ประชาชนในหมู่บ้านต้นแบบ ลดโรค มีความรู้และพฤติกรรมในการออกกำลังกายสม่ำเสมอ จำนวนผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมโรคได้ร้อยละ 60

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการลดหวาน-มัน-เค็ม-ลดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 2564-L3311-2-16

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางพรรณี นวลขาว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด