โครงการส่งเสริมสุขภาพเครือข่ายบ้านน้ำเค็ม ประจำปี 2564
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพเครือข่ายบ้านน้ำเค็ม ประจำปี 2564 ”
ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายอรุณ ขรีดาโอ๊ะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพเครือข่ายบ้านน้ำเค็ม ประจำปี 2564
ที่อยู่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพเครือข่ายบ้านน้ำเค็ม ประจำปี 2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพเครือข่ายบ้านน้ำเค็ม ประจำปี 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพเครือข่ายบ้านน้ำเค็ม ประจำปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 95,380.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากนักเรียนในโรงเรียนบ้านน้ำเค็ม (ก.ค.-ส.ค.2563) จำนวน 193 คน พบว่า นักเรียนจำนวน 135 คน มีภาวะฟันผุ คิดเป็นร้อยละ 69.95 ซึ่งเป็นอัตราที่สูง ส่งผลทำให้กระทบต่อการเรียน และจากการสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของนักเรียน พบว่านักเรียนไม่ได้แปรงฟันก่อนนอนจำนวน 74 คน คิดเป็นร้อยละ 38.34 นักเรียนชอบดื่มน้ำหวานเป็นประจำ 89 คน คิดเป็นร้อยละ 46.11 และนักเรียนรับประทานขนมขบเคี้ยวที่มีน้ำตาลที่เป็นส่วนประกอบสำคัญ จำนวน 124 คน คิดเป็นร้อยละ 64.25 และนักเรียนขาดทักษะในการแปรงฟันอย่างถูกวิธีจำนวน 86 คน คิดเป็นร้อยละ 44.56 จากข้อมูลดังกล่าวแสดงให้เห็นพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดฟันผุและสภาวะฟันผุในกลุ่มเด็กอายุ 12 ปีมีปัญหาสูงมากจนน่าเป็นห่วง การที่นักเรียนมีปัญหาฟันผุ จะทำให้เกิดอาการปวด อันจะส่งผลกระทบต่อภาวะโภชนาการ การพัฒการเรียนรู้ และพัฒนาการด้านบุคลิกภาพในวัยเรียนเป็นอย่างมาก และจากการสำรวจภาวะโภชนาการของนักเรียนโดยครูประจำชั้นพบว่ามีนักเรียนภาวะทุพโภชนาการซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ภาวะเตี้ย 11 คน คิดเป็นร้อยละ 5.70 ภาวะผอม 3 คน คิดเป็นร้อยละ 1.55 ภาวะเริ่มอ้วน 16 คน คิดเป็น 8.29 และภาวะอ้วน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 3.63 ซึ่งจากปัญหาทั้งหมด จำเป็นจะต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน
นอกจากภาวะสุขภาพอนามัยของนักเรียนแล้ว สุขภาพอนามัยของครูและบุคลากรทางการศึกษาาก็เป็นสิ่งสำคัญที่จะต้องดูแลและให้ความสำคัญ เพราะหากครูและบุคลากรทางการศึกษามีปัญหาทางสุขภาพก็ส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติงาน ซึ่งจะกระทบต่อการจัดการศึกษาได้ จากข้อมูลพบว่า บุคลากรทั้งสิ้น จำนวน 17 คน ค่า BMI อยู่ในระดับปกติ 6 คน อยู่ระดับอ้วนในระยะแรก 6 คน และอยู่ในระดับอ้วนในระยะที่สอง 5 คน ซึ่งมีปัญหาสุ่มเสี่ยงต่อสุขภาพ
ในการดำเนินการด้านการพัฒนานักเรียน ยังค้นพบว่าปัญหาพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรียน พบว่า พฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสมส่วนใหญ่เกิดจากนักเรียนปฏิบัติตนในขณะอยู่ที่บ้าน ซึ่งเกิดจากผู้ปกครองขาดความรู้กษะและทัศนคติในการดูแลสุขภาพของผู้ปำครองเอง พบว่า ผู้ปกครองร้อยละ 67.78 มีภาวะอ้วน และมีปัญหาสุขภาพในช่องปาก ร้อยละ 79.45
นอกเหนือจากที่กล่าวมา บทบาทของชุมชนก็มีส่วนสำคัญในการดูแลสุขภาพร่างกายของคนในชุมชน ดังนั้นจำเป็นที่ดี มีความถูกต้อง เหมาะสม และสอดแทรกเรื่องสุขภาพช่องปาก จะเห็นได้ว่าเรื่องโภชนาการและสุขภาพช่องปากเป็นเรื่องที่มีความเกี่ยงเนื่องกัน และทุกคนมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบ นอกจากนี้การควบคุมดูแลในการรับประทานอาหารที่มีความหวานที่สูงนั้นย่อมก่อให้เกิดโรคภัยต่างๆตามมา เช่นโรคอ้วน โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน เป็นต้น
ดังนั้น เพื่อเป็นการกระตุ้นให้นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง รวมทั้งแกนนำในชุมชน ให้เกิดความตระหนัก และให้ความสนใจด้านโภชนาการและการดูแลสุขภาพในช่องปากยิ่งขึ้น อีกทั้งเป็นการส่งเสริมป้องกันไม่ให้ปัญหาดังกล่าวลุกลามและทวีความรุนแรงมากขึ้นกว่าเดิม จำเป็นต้องอาศัยความร่วมือจากภาคีเครือข่ายในชุมชนทั้งครูและบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนบ้านน้ำเค็ม ผู้ปกครองนักเรียน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ทันตบุคลากร อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ตลอดถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว โรงเรียนบ้านน้ำเค็มจึงจัดทำโครงการนี้ขึ้นโดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อการสร้างเสริมพฤติกรรมที่ดีด้านสุขภาพของกลุ่มเป้าหมายได้อย่างยั่งยืนและเผยแพร่สู่ชุมชนต่อ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้นักเรียนได้รับการตรวจและดูแลสุขภาพช่องปาก รวมทั้งสามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างเหมาะสม
- 2.เพื่อให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง และแกนนำชุมชนบ้านน้ำเค็ม สามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างเหมาะสม
- 3.เพื่อให้เกิดเครือข่ายในการร่วมดูแลสุขภาพผ่านสังคมออนไลน์ในกลุ่มของเครือข่ายสุขภาพบ้านน้ำเค็ม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องโภชนาการและทันตสุขภาพ
- 2.อบรมให้ความรู้เรื่องโรงเรียนและชุมชนอ่อนหวาน ลดมัน ลดเค็ม
- 3.สร้างเครือข่ายสังคมออนไลน์ และจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.นักเรียน บุคลากรในโรงเรียน ผู้ปกครอง และคนในชุม มีความรอบรู้และสามารถเลือกรับประทานอาหารที่ลดปริมาณความหวาน ความมัน ความเค็ม ซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพรวมทั้งสามารถดูแลของตนเองได้อย่างเหมาะสม
2.มีภาคีเครือข่ายมาช่วยในการแก้ไขปัญหาด้านโภชนาการและการดูแลสุขภาพองค์รวมของกลุ่มเป้าหมาย
3.กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพที่ดีขึ้นและเป็นเครือข่ายในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพให้บุคคลหรือกลุ่มอื่นๆต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อให้นักเรียนได้รับการตรวจและดูแลสุขภาพช่องปาก รวมทั้งสามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ80 ของนักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพในช่องปากมีพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างเหมาะสม
0.00
2
2.เพื่อให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง และแกนนำชุมชนบ้านน้ำเค็ม สามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละ 80 ของครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครองและแกนนำชุมชนบ้านน้ำเค็ม สามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างเหมาะสม
0.00
3
3.เพื่อให้เกิดเครือข่ายในการร่วมดูแลสุขภาพผ่านสังคมออนไลน์ในกลุ่มของเครือข่ายสุขภาพบ้านน้ำเค็ม
ตัวชี้วัด : 3.ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการ เป็นเครือข่ายในการร่วมดูแลสุขภาพผ่านสังคมออนไลน์ของเครือข่ายสุขภาพบ้านน้ำเค็ม
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้นักเรียนได้รับการตรวจและดูแลสุขภาพช่องปาก รวมทั้งสามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างเหมาะสม (2) 2.เพื่อให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง และแกนนำชุมชนบ้านน้ำเค็ม สามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างเหมาะสม (3) 3.เพื่อให้เกิดเครือข่ายในการร่วมดูแลสุขภาพผ่านสังคมออนไลน์ในกลุ่มของเครือข่ายสุขภาพบ้านน้ำเค็ม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องโภชนาการและทันตสุขภาพ (2) 2.อบรมให้ความรู้เรื่องโรงเรียนและชุมชนอ่อนหวาน ลดมัน ลดเค็ม (3) 3.สร้างเครือข่ายสังคมออนไลน์ และจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพเครือข่ายบ้านน้ำเค็ม ประจำปี 2564 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอรุณ ขรีดาโอ๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพเครือข่ายบ้านน้ำเค็ม ประจำปี 2564 ”
ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายอรุณ ขรีดาโอ๊ะ
ที่อยู่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพเครือข่ายบ้านน้ำเค็ม ประจำปี 2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพเครือข่ายบ้านน้ำเค็ม ประจำปี 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพเครือข่ายบ้านน้ำเค็ม ประจำปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 95,380.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากนักเรียนในโรงเรียนบ้านน้ำเค็ม (ก.ค.-ส.ค.2563) จำนวน 193 คน พบว่า นักเรียนจำนวน 135 คน มีภาวะฟันผุ คิดเป็นร้อยละ 69.95 ซึ่งเป็นอัตราที่สูง ส่งผลทำให้กระทบต่อการเรียน และจากการสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของนักเรียน พบว่านักเรียนไม่ได้แปรงฟันก่อนนอนจำนวน 74 คน คิดเป็นร้อยละ 38.34 นักเรียนชอบดื่มน้ำหวานเป็นประจำ 89 คน คิดเป็นร้อยละ 46.11 และนักเรียนรับประทานขนมขบเคี้ยวที่มีน้ำตาลที่เป็นส่วนประกอบสำคัญ จำนวน 124 คน คิดเป็นร้อยละ 64.25 และนักเรียนขาดทักษะในการแปรงฟันอย่างถูกวิธีจำนวน 86 คน คิดเป็นร้อยละ 44.56 จากข้อมูลดังกล่าวแสดงให้เห็นพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดฟันผุและสภาวะฟันผุในกลุ่มเด็กอายุ 12 ปีมีปัญหาสูงมากจนน่าเป็นห่วง การที่นักเรียนมีปัญหาฟันผุ จะทำให้เกิดอาการปวด อันจะส่งผลกระทบต่อภาวะโภชนาการ การพัฒการเรียนรู้ และพัฒนาการด้านบุคลิกภาพในวัยเรียนเป็นอย่างมาก และจากการสำรวจภาวะโภชนาการของนักเรียนโดยครูประจำชั้นพบว่ามีนักเรียนภาวะทุพโภชนาการซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ภาวะเตี้ย 11 คน คิดเป็นร้อยละ 5.70 ภาวะผอม 3 คน คิดเป็นร้อยละ 1.55 ภาวะเริ่มอ้วน 16 คน คิดเป็น 8.29 และภาวะอ้วน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 3.63 ซึ่งจากปัญหาทั้งหมด จำเป็นจะต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน
นอกจากภาวะสุขภาพอนามัยของนักเรียนแล้ว สุขภาพอนามัยของครูและบุคลากรทางการศึกษาาก็เป็นสิ่งสำคัญที่จะต้องดูแลและให้ความสำคัญ เพราะหากครูและบุคลากรทางการศึกษามีปัญหาทางสุขภาพก็ส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติงาน ซึ่งจะกระทบต่อการจัดการศึกษาได้ จากข้อมูลพบว่า บุคลากรทั้งสิ้น จำนวน 17 คน ค่า BMI อยู่ในระดับปกติ 6 คน อยู่ระดับอ้วนในระยะแรก 6 คน และอยู่ในระดับอ้วนในระยะที่สอง 5 คน ซึ่งมีปัญหาสุ่มเสี่ยงต่อสุขภาพ
ในการดำเนินการด้านการพัฒนานักเรียน ยังค้นพบว่าปัญหาพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรียน พบว่า พฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสมส่วนใหญ่เกิดจากนักเรียนปฏิบัติตนในขณะอยู่ที่บ้าน ซึ่งเกิดจากผู้ปกครองขาดความรู้กษะและทัศนคติในการดูแลสุขภาพของผู้ปำครองเอง พบว่า ผู้ปกครองร้อยละ 67.78 มีภาวะอ้วน และมีปัญหาสุขภาพในช่องปาก ร้อยละ 79.45
นอกเหนือจากที่กล่าวมา บทบาทของชุมชนก็มีส่วนสำคัญในการดูแลสุขภาพร่างกายของคนในชุมชน ดังนั้นจำเป็นที่ดี มีความถูกต้อง เหมาะสม และสอดแทรกเรื่องสุขภาพช่องปาก จะเห็นได้ว่าเรื่องโภชนาการและสุขภาพช่องปากเป็นเรื่องที่มีความเกี่ยงเนื่องกัน และทุกคนมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบ นอกจากนี้การควบคุมดูแลในการรับประทานอาหารที่มีความหวานที่สูงนั้นย่อมก่อให้เกิดโรคภัยต่างๆตามมา เช่นโรคอ้วน โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน เป็นต้น
ดังนั้น เพื่อเป็นการกระตุ้นให้นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง รวมทั้งแกนนำในชุมชน ให้เกิดความตระหนัก และให้ความสนใจด้านโภชนาการและการดูแลสุขภาพในช่องปากยิ่งขึ้น อีกทั้งเป็นการส่งเสริมป้องกันไม่ให้ปัญหาดังกล่าวลุกลามและทวีความรุนแรงมากขึ้นกว่าเดิม จำเป็นต้องอาศัยความร่วมือจากภาคีเครือข่ายในชุมชนทั้งครูและบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนบ้านน้ำเค็ม ผู้ปกครองนักเรียน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ทันตบุคลากร อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ตลอดถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว โรงเรียนบ้านน้ำเค็มจึงจัดทำโครงการนี้ขึ้นโดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อการสร้างเสริมพฤติกรรมที่ดีด้านสุขภาพของกลุ่มเป้าหมายได้อย่างยั่งยืนและเผยแพร่สู่ชุมชนต่อ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้นักเรียนได้รับการตรวจและดูแลสุขภาพช่องปาก รวมทั้งสามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างเหมาะสม
- 2.เพื่อให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง และแกนนำชุมชนบ้านน้ำเค็ม สามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างเหมาะสม
- 3.เพื่อให้เกิดเครือข่ายในการร่วมดูแลสุขภาพผ่านสังคมออนไลน์ในกลุ่มของเครือข่ายสุขภาพบ้านน้ำเค็ม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องโภชนาการและทันตสุขภาพ
- 2.อบรมให้ความรู้เรื่องโรงเรียนและชุมชนอ่อนหวาน ลดมัน ลดเค็ม
- 3.สร้างเครือข่ายสังคมออนไลน์ และจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.นักเรียน บุคลากรในโรงเรียน ผู้ปกครอง และคนในชุม มีความรอบรู้และสามารถเลือกรับประทานอาหารที่ลดปริมาณความหวาน ความมัน ความเค็ม ซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพรวมทั้งสามารถดูแลของตนเองได้อย่างเหมาะสม 2.มีภาคีเครือข่ายมาช่วยในการแก้ไขปัญหาด้านโภชนาการและการดูแลสุขภาพองค์รวมของกลุ่มเป้าหมาย 3.กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพที่ดีขึ้นและเป็นเครือข่ายในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพให้บุคคลหรือกลุ่มอื่นๆต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้นักเรียนได้รับการตรวจและดูแลสุขภาพช่องปาก รวมทั้งสามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างเหมาะสม ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ80 ของนักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพในช่องปากมีพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างเหมาะสม |
0.00 |
|
||
2 | 2.เพื่อให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง และแกนนำชุมชนบ้านน้ำเค็ม สามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างเหมาะสม ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละ 80 ของครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครองและแกนนำชุมชนบ้านน้ำเค็ม สามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างเหมาะสม |
0.00 |
|
||
3 | 3.เพื่อให้เกิดเครือข่ายในการร่วมดูแลสุขภาพผ่านสังคมออนไลน์ในกลุ่มของเครือข่ายสุขภาพบ้านน้ำเค็ม ตัวชี้วัด : 3.ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการ เป็นเครือข่ายในการร่วมดูแลสุขภาพผ่านสังคมออนไลน์ของเครือข่ายสุขภาพบ้านน้ำเค็ม |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้นักเรียนได้รับการตรวจและดูแลสุขภาพช่องปาก รวมทั้งสามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างเหมาะสม (2) 2.เพื่อให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง และแกนนำชุมชนบ้านน้ำเค็ม สามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างเหมาะสม (3) 3.เพื่อให้เกิดเครือข่ายในการร่วมดูแลสุขภาพผ่านสังคมออนไลน์ในกลุ่มของเครือข่ายสุขภาพบ้านน้ำเค็ม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องโภชนาการและทันตสุขภาพ (2) 2.อบรมให้ความรู้เรื่องโรงเรียนและชุมชนอ่อนหวาน ลดมัน ลดเค็ม (3) 3.สร้างเครือข่ายสังคมออนไลน์ และจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพเครือข่ายบ้านน้ำเค็ม ประจำปี 2564 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอรุณ ขรีดาโอ๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......