กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กันตังใต้


“ โครงการเสริมพลังครอบครัวอบอุ่น เสริมพลังจิต สุขภาพดี ประจำปี 2564 ”

ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางเย็นจิตร์ แซ่เลี้ยว

ชื่อโครงการ โครงการเสริมพลังครอบครัวอบอุ่น เสริมพลังจิต สุขภาพดี ประจำปี 2564

ที่อยู่ ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64-L1460-02-005 เลขที่ข้อตกลง 14/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 30 มิถุนายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมพลังครอบครัวอบอุ่น เสริมพลังจิต สุขภาพดี ประจำปี 2564 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กันตังใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมพลังครอบครัวอบอุ่น เสริมพลังจิต สุขภาพดี ประจำปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมพลังครอบครัวอบอุ่น เสริมพลังจิต สุขภาพดี ประจำปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 64-L1460-02-005 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 30 มิถุนายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กันตังใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)         ด้วยสภาพการเปลี่ยนแปลงทางด้านโครงสร้างประชากรและวิถีการดำเนินชีวิตในปัจจุบัน ส่งผลให้สถาบันครอบครัว ซึ่งถือเป็นสถาบันพื้นฐานที่เป็นหลักของสังคมและเป็นรากฐานที่สำคัญในการพัฒนาคนและสังคมในอนาคตได้มีการเปลี่ยนแปลง ทั้งทางด้านโครงสร้างและความสัมพันธ์ในครอบครัว โดยจากเดิมที่ส่วนใหญ่เป็นครอบครัวขยาย มีสมาชิกในครอบครัว 3 ช่วงอายุ (ปู่ ย่า ตา ยาย พ่อ แม่ และลูก) กลายเป็นครอบครัวเดี่ยวที่เหลือเพียงพ่อ แม่ ลูกเท่านั้น และนับวันก็ยิ่งมีขนาดเล็กลงเรื่อยๆ ซึ่งแต่ละครอบครัวนั้นอาจจะมีสภาพปัญหาและความต้องการความช่วยเหลือที่แตกต่างกัน เช่น ครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวที่มีเฉพาะพ่อหรือแม่ที่เลี้ยงลูกตามลำพัง ครอบครัวแหว่งกลางที่มีสมาชิกเป็นผู้สูงอายุเลี้ยงดูเด็กตามลำพัง ครอบครัวเพศเดียวกัน ครอบครัวบุตร      บุญธรรม และครอบครัวที่มีภาระในการดูแลสมาชิกที่เจ็บป่วย/พิการ/ต้องขัง เป็นต้น ทั้งนี้จากข้อมูลการสำรวจครัวเรือน ในปีงบประมาณ 2564 ของกองสวัสดิการสังคม องค์การบริหารส่วนตำบลกันตังใต้ พบว่า มี ครอบครัวผู้ป่วยเอดส์ จำนวน 15 ครัวเรือน ครอบครัวที่มีผู้พิการ จำนวน 174 ครัวเรือน ครอบครัวผู้สูงอายุ จำนวน 1,101 ครัวเรือน และครอบครัวที่มีแม่วัยรุ่นอายุต่ำกว่า 20 ปีที่มาขึ้นทะเบียนขอรับสิทธิ์เงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด จำนวน 50 ครัวเรือน เป็นต้น ซึ่งเหตุผลข้างต้นอาจส่งผลให้สถาบันครอบครัวมีความเปราะบาง และไม่สามารถทำบทบาทหน้าที่ได้อย่างสมบูรณ์ ก่อให้เกิดสัมพันธภาพภายในครอบครัวที่เสื่อมถอยลง และส่งผลกระทบต่อสังคมตามมาภายหลังได้ เช่น ปัญหาการใช้ความรุนแรงในครอบครัว ปัญหายาเสพติด ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ปัญหาการถูกทอดทิ้ง เป็นต้น ทั้งนี้ปัญหาดังกล่าวอาจมีผลทำให้บรรยากาศภายในครอบครัวนั้นมีความรักและความอบอุ่นน้อยลง รวมทั้งเป็นการบั่นทอนสุขภาพจิตและความสุขของคนในครอบครัว ซึ่งอาจนำไปสู่การเกิดปัญหาทางด้านอารมณ์ สุขภาพจิต และสุขภาพร่างกายตามมาภายหลังได้     ดังนั้นการเสริมพลังให้ครอบครัว จึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง ทั้งพลังทางด้านร่างกาย ด้านจิตใจ และด้านความคิด อันมีผลให้ครอบครัวสามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นภายในครอบครัวได้ เป็นครอบครัวที่มีความรัก ความอบอุ่น และมีสุขภาพที่ดีขึ้นในทุกๆมิติ ทั้งนี้หากสถาบันครอบครัวในชุมชนมีความอบอุ่นและมีความสุข ก็ย่อมส่งผลให้ชุมชนและสังคมมีความเข้มแข็งและมีคุณธรรมไปด้วย     ศูนย์พัฒนาครอบครัวตำบลกันตังใต้ จึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว รวมทั้งความสำคัญของสถาบันครอบครัว เพราะหากสถาบันครอบครัวไม่มีความเข้มแข็ง ทั้งสุขภาพกาย สุขภาพจิต และสัมพันธภาพในครอบครัว ก็ย่อมส่งผลให้ชุมชนมีความอ่อนแอลงได้ จึงได้จัดทำโครงการ “เสริมพลังครอบครัวอบอุ่น สุขภาพจิตดี สุขภาพดี” ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกในครอบครัวทำกิจกรรมร่วมกันอันเป็นการสร้างความรักความสามัคคีในครอบครัว
  2. ข้อที่ 2 เพื่อส่งเสริมการสร้างครอบครัวให้มีความอบอุ่นและเข้มแข็งเพื่อลดปัญหาต่างๆภายในครอบครัว เช่น ปัญหายาเสพติด เป็นต้น
  3. ข้อที่ 3 เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกในครอบครัวมีสุขภาวะที่ดีในทุกๆมิติ ทั้งสุขภาพกาย สุขภาพจิตใจ เป็นต้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.1 กิจกรรมย่อย ให้ความรู้การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยให้ครอบครัวมีส่วนในการช่วยเหลือและแก้ไขปัญหา
  2. 1.2 กิจกรรมย่อย กิจกรรมกลุ่มย่อยฝึกปฏิบัติแยกฐาน การแก้ไขปัญหายาเสพติด
  3. 1.3 กิจกรรมย่อย ให้ความรู้การส่งเสริมการออกกำลังกายและการดุแลรักษาสุขภาพ
  4. 1.4 กิจกรรมย่อย กิจกรรมกลุ่มย่อยฝึกปฏิบัติแยกฐาน การส่งเสริมการออกกำลังกาย โดยการแข่งขันแชร์บอลสร้างความสัมพันธ์ภายในครอบครัว

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 25
กลุ่มวัยทำงาน 25
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ครอบครัวที่เข้าร่วมโครงการมีความสัมพันธ์ที่ดี มีความรักและความอบอุ่น เป็นครอบครัวที่มีความเข้มแข็งในชุมชน 2.ครอบครัวที่เข้าร่วมโครงการได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน รวมทั้งมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นใน ครอบครัว ทั้งปัญหาสุขภาวะทางด้านร่างกายและสุขภาวะทางจิตใจ สามารถลดและแก้ไขปัญหาครอบครัวที่อาจส่งผลกระทบให้สถาบันครอบครัวและชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกในครอบครัวทำกิจกรรมร่วมกันอันเป็นการสร้างความรักความสามัคคีในครอบครัว
ตัวชี้วัด : 1. สมาชิกในครอบครัวสามารถวิเคราะห์ปัญหาภายในครอบครัวที่มีผลต่อสุขภาวะของคนในครอบครัวได้ ทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิตใจ ร้อยละ 80.
0.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อส่งเสริมการสร้างครอบครัวให้มีความอบอุ่นและเข้มแข็งเพื่อลดปัญหาต่างๆภายในครอบครัว เช่น ปัญหายาเสพติด เป็นต้น
ตัวชี้วัด : 1. สมาชิกในครอบครัวมีสัมพันธภาพที่ดี มีความรัก และความสามัคคี ส่งผลให้ครอบครัวและชุมชนมีความเข้มแข็ง เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
0.00

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกในครอบครัวมีสุขภาวะที่ดีในทุกๆมิติ ทั้งสุขภาพกาย สุขภาพจิตใจ เป็นต้น
ตัวชี้วัด : 1. สมาชิกในครอบครัวนำทักษะและความรู้ที่ได้มาปรับใช้ในครอบครัว เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีให้กับครอบครัว เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 25
กลุ่มวัยทำงาน 25
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกในครอบครัวทำกิจกรรมร่วมกันอันเป็นการสร้างความรักความสามัคคีในครอบครัว (2) ข้อที่ 2 เพื่อส่งเสริมการสร้างครอบครัวให้มีความอบอุ่นและเข้มแข็งเพื่อลดปัญหาต่างๆภายในครอบครัว เช่น ปัญหายาเสพติด เป็นต้น (3) ข้อที่ 3 เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกในครอบครัวมีสุขภาวะที่ดีในทุกๆมิติ ทั้งสุขภาพกาย สุขภาพจิตใจ เป็นต้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.1 กิจกรรมย่อย  ให้ความรู้การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยให้ครอบครัวมีส่วนในการช่วยเหลือและแก้ไขปัญหา (2) 1.2 กิจกรรมย่อย กิจกรรมกลุ่มย่อยฝึกปฏิบัติแยกฐาน การแก้ไขปัญหายาเสพติด (3) 1.3 กิจกรรมย่อย  ให้ความรู้การส่งเสริมการออกกำลังกายและการดุแลรักษาสุขภาพ (4) 1.4 กิจกรรมย่อย  กิจกรรมกลุ่มย่อยฝึกปฏิบัติแยกฐาน การส่งเสริมการออกกำลังกาย โดยการแข่งขันแชร์บอลสร้างความสัมพันธ์ภายในครอบครัว

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเสริมพลังครอบครัวอบอุ่น เสริมพลังจิต สุขภาพดี ประจำปี 2564 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64-L1460-02-005

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเย็นจิตร์ แซ่เลี้ยว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด