กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง


“ ถนนอาหารปลอดภัย เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยววิถีไทย ”

ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุวรรณา ล่าเต๊ะ

ชื่อโครงการ ถนนอาหารปลอดภัย เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยววิถีไทย

ที่อยู่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2560-L5309-2-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"ถนนอาหารปลอดภัย เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยววิถีไทย จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ถนนอาหารปลอดภัย เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยววิถีไทย



บทคัดย่อ

โครงการ " ถนนอาหารปลอดภัย เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยววิถีไทย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 2560-L5309-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 56,525.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากนโยบายของรัฐบาลที่ให้ปี 2558 - 2560 เป็น "ปีท่องเที่ยววิถีไทย" (Discover Thainess) และจากการประชุมร่วมระหว่างกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ได้กำหนดให้มีการบูรณาการการดำเนินงานร่วมกัน เพื่อเป็นการสนับสนุนปีท่องเที่ยววิถีไทย โดยเฉพาะในเรื่องการดูแลบริหารจัดการด้านความสะอาด สุขอนามัยในแหล่งท่องเที่ยว และสถานบริการด้านท่องเที่ยว กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมอนามัยได้ดำเนินการส่งเสริม สนับสนุน ให้ภาคีเครือข่ายดำเนินการพัฒนาสถานประกอบการด้านอาหารตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ให้ได้มาตรฐาน โดยได้ดำเนินการจัดทำมาตรฐาน ออกกฎกระทรวง และคำแนะนำคณะกรรมการสาธารณสุข เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใช้เป็นแนวทางในการควบคุมกำกับสถานประกอบการด้านอาหารในพื้นที่ และส่งเสริมการรับรองมาตรฐานสถานประกอบการด้านอาหาร โดยได้จัดทำมาตรฐานตลาดสดน่าซื้อสำหรับรับรองมาตรฐานตลาดสด และจัดทำมาตรฐานอาหารสะอาด รสชาติอร่อย เพื่อรับรองมาตรฐานร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร ดังนั้น ชมรมตลาดเย็น เย็นร่วมกับภาคีเครือข่าย กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลกำแพง และฝ่ายเวชกรรมชุมชน โรงพยาบาลละงู ได้เล็งเห็นว่า การขับเคลื่อนการพัฒนาสถานประกอบการด้านอาหารให้ได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับของต่างชาติ และเป็นการดำเนินงานสนับสนุน "ปีท่องเที่ยววิถีไทย" และจึงได้จัดทำโครงการถนนอาหารปลอดภัย เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยววิถีไทย ปี 2560 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการพัฒนาร้าน แผงลอยขายในตลาดเย็น เย็น ให้เป็นถนนสายอาหารปลอดภัย ได้มาตรฐาน และลดความเสี่ยงในการบริโภคอาหารของประชาชนและนักท่องเที่ยว
  2. เพื่อให้ประชาชนทั่วไปเกิดความพึงพอใจต่อบริการตลาดเย็น เย็น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เกิดความร่วมมือของหน่วยงานภาครัฐและเอกชนในการพัฒนาสถานประกอบการด้านอาหารและส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างเป็นรูปธรรม
    2. สถานประกอบการด้านอาหารที่ได้มาตรฐานมีการบริการอาหารที่สะอาดปลอดภัยสำหรับผู้บริโภคและนักท่องเที่ยวขาวไทยและต่างประเทศ
    3. ประชาชนมีความพึงพอใจในการให้บริการของตลาดเย็น เย็น

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อปรับสภาพแวดล้อมให้ผ่านเกณฑ์เป็นถนนสายสุขภาพ

    วันที่ 1 กรกฎาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกิดการพัฒนาร้านค้าในตลาดเย็น เย็นให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน ถนนอาหารปลอดภัย

     

    60 60

    2. กิจกรรมจัดกระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมประเมินผลและปรับปรุงพัฒนาในการปรับส่ิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมเป็นถนนสายสุขภาพ ด้วยการประชุมกลุ่ม 6 ครั้ง

    วันที่ 5 กรกฎาคม 2560 เวลา 20:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกิดการมีส่วนร่วมในการพัฒนาร้าน แผงลอยขายในตลาดเย็น เย็น ให้เป็นถนนสายอาหารปลอดภัย ได้มาตรฐาน และลดความเสี่ยงในการบริโภคอาหารของประชาชนและนักท่องเที่ยว

     

    60 60

    3. มหกรรม "มาแลต๊ะ...ถนนตลาดเย็น เย็น อาหารปลอดภัย"

    วันที่ 28 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชนทั่วไปเกิดความพึงพอใจต่อตลาดเย็น เย็น

     

    160 160

    4. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ

    วันที่ 1 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สรุปผลการดำเนินงานโครงการเพื่อพัฒนาต่อยอดการพัฒนาตลาดเย็น เย็น ให้ผ่านเกณฑ์ถนนอาหารปลอดภัย อย่างยั่งยืน

     

    0 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการพัฒนาร้าน แผงลอยขายในตลาดเย็น เย็น ให้เป็นถนนสายอาหารปลอดภัย ได้มาตรฐาน และลดความเสี่ยงในการบริโภคอาหารของประชาชนและนักท่องเที่ยว
    ตัวชี้วัด : 1. จำนวนพ่อค้า แม่ค้าในตลาดเย็น เย็น มีส่วนร่วมในการคิดวางแผน พัฒนาร้านแผงลอยในตลาดเย็น เย็น มากกว่าร้อยละ 70 2. จำนวนพ่อค้า แม่ค้าในตลาดเย็น เย็น มีส่วนร่วมในการปฏิบัติตามแผน พัฒนาร้านแผงลอยในตลาดเย็น เย็น มากกว่าร้อยละ 70 3. จำนวนพ่อค้า แม่ค้าในตลาดเย็น เย็น มีส่วนร่วมในการปรับปรุงแผงและรับผิดชอบต่อการพัฒนาร้านแผงลอยในตลาดเย็น เย็น มากกว่าร้อยละ 70

     

    2 เพื่อให้ประชาชนทั่วไปเกิดความพึงพอใจต่อบริการตลาดเย็น เย็น
    ตัวชี้วัด : 1. จำนวนประชาชนเข้าร่วมกิจกรรม มากกว่า 100 คน 2. ประชาชนมีความพึงพอใจในการบริการของตลาดเย็น เย็น มากกว่าร้อยละ 60

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการพัฒนาร้าน แผงลอยขายในตลาดเย็น เย็น ให้เป็นถนนสายอาหารปลอดภัย ได้มาตรฐาน และลดความเสี่ยงในการบริโภคอาหารของประชาชนและนักท่องเที่ยว (2) เพื่อให้ประชาชนทั่วไปเกิดความพึงพอใจต่อบริการตลาดเย็น เย็น

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ถนนอาหารปลอดภัย เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยววิถีไทย จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 2560-L5309-2-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวสุวรรณา ล่าเต๊ะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด