กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก


“ โครงการสร้างแกนนำวัยรุ่น ห่างไกลภัยสุขภาพ ”

ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายดานิช ดิงปาเนาะ

ชื่อโครงการ โครงการสร้างแกนนำวัยรุ่น ห่างไกลภัยสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2480-1-08 เลขที่ข้อตกลง 29/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 29 ธันวาคม 2564 ถึง 29 ธันวาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างแกนนำวัยรุ่น ห่างไกลภัยสุขภาพ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างแกนนำวัยรุ่น ห่างไกลภัยสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันเกี่ยวกับปัญหาภัยสุขภาพในวัยรุ่น (2) เพื่อให้เกิดศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่นในพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการการเรียนรู้แบบสร้างประสบการณ์เกี่ยวกับภาวะผู้นำในการดูแลปัญหาสุขภาพในวัยรุ่น ในแกนนำวัยรุ่น (2) กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางการขับเคลื่อนในผู้นำและภาคี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วัยเริ่มเจริญพันธุ์ เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพซึ่งกายของเด็กเจริญเต็มที่สู่กายผู้ใหญ่ เป็นการเปลี่ยนแปลงทางอวัยวะสืบพันธุ์เพื่อให้พร้อมแก่การปฏิสนธิได้ วัยเริ่มเจริญพันธุ์เริ่มจากสัญญาณฮอร์โมนจากสมองไปยังต่อมบ่งเพศ คือ รังไข่ในเด็กหญิง ต่อมบ่งเพศสนองต่อสัญญาณดังกล่าวโดยผลิตฮอร์โมนซึ่งกระตุ้นความต้องการทางเพศ (libido) และการเติบโต การทำหน้าที่และการแปรรูปของสมอง กระดูก กล้ามเนื้อ เลือด ผิวหนัง ขน หน้าอกและอวัยวะเพศ การเติบโตทางกาย ความสูงและน้ำหนัก เร่งเร็วขึ้นในครึ่งแรกของวัยเริ่มเจริญพันธุ์และเสร็จเมื่อเด็กนั้นพัฒนากายผู้ใหญ่ ความแตกต่างระหว่างเด็กชายและเด็กหญิงก่อนวัยเริ่มเจริญพันธุ์อย่างเดียว คือ อวัยวะเพศภายนอก จนกว่ามีการเจริญเต็มที่ของสมรรถภาพสืบพันธุ์ วัยรุ่นเป็นวัยที่กำลังเผชิญกับปัญหาการเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โรคเอดส์ การตั้งครรภ์ไม่พร้อม และการทำแท้ง จากการสำรวจข้อมูลพฤติกรรมการมีเพศสัมพันธ์ ของวัยรุ่น อายุ 15-24 ปี อำเภอเจาะไอร้อง ปี 2558 พบว่า วัยรุ่น มีเพศสัมพันธ์ครั้งแรก อายุเฉลี่ย 14 ปี ร้อยละ 45 ของวัยรุ่นที่สำรวจเคยมีเพศสัมพันธ์ และร้อยละ 80 มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกัน และอัตราการท้อง ในเด็กอายุต่ำกว่า 20 ปี ก็อยู่ในอัตราร้อยละ 20 ถือว่ายังสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด( รายงานประจำปีสสอ.เจาะไอร้อง,2558) จากการประชุมกลุ่มภาคีเครือข่ายอันประกอบด้วย ครู ครูกศน. ครูสอนศาสนา เจ้าหน้าที่สาธารณสุข อบต. และผู้นำชุมชน พบว่า ปัญหาวัยรุ่นยังคงเป็นปัญหาอันดับแรกๆที่เกิดขึ้น จึงได้ช่วยกันคิดถึงวิธีการแก้ไขขึ้น และการให้ความรู้เรื่องการป้องกันตนเองในการมี เพศสัมพันธ์ก่อนแต่ง ก็เป็นปัญหาหนึ่งที่ภาคีเครือข่ายยังคงเห็นถึงความสำคัญ วัยรุ่นที่อยู่ในระบบโรงเรียน บางโรงเรียน ได้บรรจุการสอนเพศศึกษารอบด้านในชม.เรียน จึงช่วยลดปัญหานี้ได้ระดับหนึ่ง ส่วนเด็กนักเรียนนอกระบบการศึกษานั้น จะมีแนวทางการเรียนรู้เรื่องนี้ได้อย่างไรบ้าง จึงเป็นคำถามของผู้รับผิดงาน และภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ดังนั้นผู้รับผิดชอบงานจึงได้เสนอ หลักสูตรที่ประยุกต์จากหลักสูตร ของ PATH2HEALTH โดยมีภาคีเครือข่ายนำเสนอเพิ่มเติมเพื่อให้สอดคล้องกับหลักศาสนา และบริบทของพื้นที่ และใช้วิธีการสอนแบบสร้างประสบการณ์ เพื่อให้สอดคล้องกับทฤษฎี ปิรามิดแห่งการเรียนรู้ ว่าการเรียนแบบมีส่วนร่วมนั้นให้ผลได้ดีกว่าการสอนแบบทางเดียว ดังนั้นทางผู้วิจัยเลยเกิดคำถามการวิจัยครั้งนี้ว่า การใช้โปรแกรมสุขศึกษาที่พัฒนาให้สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ในครั้งนี้ สามารถสร้างการเรียนรู้ให้กับนักศึกษานอกระบบได้จริงหรือไม่ เพื่อที่จะได้ยืนยันผลต่อทีมภาคีเครือข่ายต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันเกี่ยวกับปัญหาภัยสุขภาพในวัยรุ่น
  2. 2.เพื่อให้เกิดศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่นในพื้นที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 2.อบรมเชิงปฏิบัติการการเรียนรู้แบบสร้างประสบการณ์เกี่ยวกับภาวะผู้นำในการดูแลปัญหาสุขภาพในวัยรุ่น ในแกนนำวัยรุ่น
  2. 1.กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางการขับเคลื่อนในผู้นำและภาคี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เกิดแกนนำวัยรุ่นในพื้นที่ 2.มีการขับเคลื่อนคลินิกศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 2.อบรมเชิงปฏิบัติการการเรียนรู้แบบสร้างประสบการณ์เกี่ยวกับภาวะผู้นำในการดูแลปัญหาสุขภาพในวัยรุ่น ในแกนนำวัยรุ่น

วันที่ 26 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

วันแรก 08.30 น- 09.00 น. ลงทะเบียนผู้เข้ารับการอบรม 09.00 น- 09.30 น. ใครเป็นใคร 09.30 น- 10.30 น. ให้ความรู้ผ่านการเรียนรู้แบบสร้างประสบการณ์ เกี่ยวกับเรื่อง “ธรรมชาติของวัยรุ่น” 10.30 น- 12.00 น. สะท้อนจากคลิป “ปัญหาการท้องในวัยรุ่น” 12.00 น- 13.00 น.พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 น- 14.00 น.ให้ความรู้ผ่านการเรียนรู้แบบสร้างประสบการณ์ เกี่ยวกับผลเสียที่จากการซีนา(การมีเพศสัมพันธ์ก่อนแต่งงาน) 14.00 น- 16.00 น. ทักษะการปฏิเสธ วันที่สอง 08.30 น- 09.00 น. ลงทะเบียนผู้เข้ารับการอบรม 09.00 น- 10.30 น. แลกน้ำ 10.30 น- 12.00 น. วิเคราะห์ความเสี่ยง QQR 12.00 น- 13.00 น.พักรับประทานอาหารกลางวันและประกอบศาสนกิจ 13.00 น- 14.00 น. ยาเสพติดกับวัยรุ่น 14.00 น- 15.00 น. ภาวะความเป็นผู้นำ 15.00 น- 16.00 น. ทักษะการให้คำปรึกษา หมายเหตุ
เวลา 10.00 น- 10.15 และ 14.30 น.-14.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เกิดแกนนำวัยรุ่นในพื้นที่ 2.มีการขับเคลื่อนคลินิกศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่น

 

30 0

2. 1.กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางการขับเคลื่อนในผู้นำและภาคี

วันที่ 29 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

08.30 น- 09.00 น. ลงทะเบียนผู้เข้ารับการอบรม 09.00 น- 10.30 น. ประชุมแลกเปลี่ยนซักถาม 10.30 น- 10.45 น. พักรับประทานอาหารเบรก 10.45 น- 12.00 น. ประชุมแลกเปลี่ยนซักถาม(ต่อ) 12.00 น- 13.00 น.พักรับประทานอาหารกลางวันและประกอบศาสนกิจ 13.00 น- 14.00 น.ประชุมวางแผนและสรุปผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ประชุมผู้นำชุมชนและภาคีเพื่อหนุนนำการขับเคลื่อนงานในวัยรุ่น 2.อบรมเชิงปฏิบัติการการเรียนรู้แบบสร้างประสบการณ์เกี่ยวกับภาวะผู้นำในการดูแลปัญหาสุขภาพในวัยรุ่น 3.ขับเคลื่อนศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่นในพื้นที่

 

20 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันเกี่ยวกับปัญหาภัยสุขภาพในวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 90 ของวัยรุ่นไม่มีปัญหาการท้องไม่พร้อมในวัยรุ่น
90.00 50.00 90.00

 

2 2.เพื่อให้เกิดศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่นในพื้นที่
ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละ 90 ของวัยรุ่นได้รับการช่วยเหลือจากปัญหาสุขภาพ
90.00 50.00 90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันเกี่ยวกับปัญหาภัยสุขภาพในวัยรุ่น (2) เพื่อให้เกิดศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่นในพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการการเรียนรู้แบบสร้างประสบการณ์เกี่ยวกับภาวะผู้นำในการดูแลปัญหาสุขภาพในวัยรุ่น ในแกนนำวัยรุ่น (2) กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางการขับเคลื่อนในผู้นำและภาคี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างแกนนำวัยรุ่น ห่างไกลภัยสุขภาพ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2480-1-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายดานิช ดิงปาเนาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด