กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
ขั้นตอนการดำเนินงาน จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรค 3อ 2ส24 ธันวาคม 2564
24
ธันวาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลมะรือโบออก
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

8.30 น.-9.00 น.ลงทะเบียนผู้เข้ารับการอบรม 9.00 น. -10.00 น. ให้ความรู้เรื่อง 3อ 2ส 10.0 น.-10.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง 11.0 10.30 น.-11.30 น. ให้ความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการเฉพาะโรค 11.30 น.-12.00 น. ซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความรู้และร่วมกันแสดงความคิดเห็น 12.00 น.-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 น.-14.00 น. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยตัวแทนกลุ่มเป้าหมาย 14.00 น. -14.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง 14.30 น.-15.30 น.ประเมินพฤติกรรมสุขภาพ 15.30 น.-16.30 น. ซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความรู้และร่วมกันแสดงความคิดเห็น 16.30 น. เสร็จโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม ลดโรค ค่างบประมาณ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีความรู้ และปฏิบัติตนเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคด้วย 3อ 2ส อย่างถูกต้อง

ขั้นตอนเตรียมการดำเนินงาน24 ธันวาคม 2564
24
ธันวาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลมะรือโบออก
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1 ขั้นเตรียมการ
1.1 สำรวจและรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล จัดทำและเสนอโครงการเตรียมวัสดุ/อุปกรณ์
1.2 ประชุมชี้แจง อสม./จนท.เพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการและจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้สำหรับกลุ่มเป้าหมาย 2 ขั้นดำเนินการ
2.1 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรค 3อ 2ส ตามวิถีชุมชนตำบลมะรือโบออก ในกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และกลุ่มป่วยในคลินิกโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของหน่วยบริการ
2.2 ประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรค โดยใช้แบบประเมินพฤติกรรมสุขภาพของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฯ และแบบแบบทดสอบความรู้สุขบัญญัติแห่งชาติของกองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
2.3 ประกวดบุคคลต้นแบบสุขภาพดีโดยทีมสหวิชาชีพของ รพ.สต.
3 ขั้นประเมินผล
3.1 ประเมินจำนวนผู้สนใจในการเข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ ลดโรค ในแต่ละครั้งของกิจกรรม มากกว่าร้อยละ 80 ของกิจกรรมที่จัดขึ้นสำหรับแต่ละกลุ่ม 3.2 ประเมินผลพฤติกรรมสุขภาพจากแบบประเมินพฤติกรรมสุขภาพของกรมสนับสนุน บริการสุขภาพ ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เปรียบเทียบก่อน-หลังการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
3.3 ผลการประกวดบุคคลต้นแบบสุขภาพดี อย่างน้อย 1 คนต่อหมู่บ้าน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สำรวจข้อมูลผู้ป่วยโรคเบาหวาน