กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
ติดตามเยี่ยมบ้านนักเรียน 7 ธ.ค. 2563 9 พ.ย. 2563

 

ลงเยียมบ้านนักเรียนทุกคนเก็บข้อมูลที่มีภาวะโภชนาการ จำนวน 50 คน

 

นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ส่วนใหญ่ไม่ได้รับประทานอาหารเช้าไปโรงเรียน

 

การพัฒนาทักษะส่วนบุคคล การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค 31 ธ.ค. 2563 6 ม.ค. 2564

 

ประชุมแจ้งผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงาน

 

กลุ่มเป้าหมายและผู้เกี่ยวข้องมีความรู้ในเรื่องภาวะทุพโภชนาการ

 

สำรวจข้อมูลนักเรียนที่ไม่ได้รับประทานอาหารเช้าและภาวะโภชนาการ(น้ำหนักและส่วนสูง) 1 ม.ค. 2564 23 พ.ย. 2563

 

แบบสำรวจข้อมูลภาวะทุพโภชนาการในนักเรียน (ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง)

 

กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนโรงเรียนบ้านตลิ่งชัน 50 คน ทุกคน ส่งผลให้นักเรียนที่รับประทานอาหารเช้าทุกคน  มีน้ำหนัก ส่วนสูงเพิ่มขึ้น

 

การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการระบบอาหาร 1 ม.ค. 2564 4 ม.ค. 2564

 

การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดกิจกรรม ปลูกผักสวนครัวในบริเวณโรงเรียน

 

โรงเรียนบ้านตลิ่งชันมีผักสวนครัวที่นักเรียนปลูกเอง มีสภาพแวดล้อมที่สมบูรณ์

 

สนับสนุนให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมเพื่อการมีและเข้าถึงอาหาร ทำให้มีอาหารปลอดภัยบริโภค และบริโภคที่ถูกต้อง มีโภชนาการที่สมวัย 6 ม.ค. 2564 1 ก.พ. 2564

 

ผู้ปกครองให้ความร่วมมือกับโรงเรียนในการทำกิจกรรม

 

นักเรียนโรงเรียนบ้านตลิ่งชันมีกิจกรรมร่วมกับชุมชนในการทำกิจกรรม

 

จัดหาอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางโภชนาการ ครบ แก่นักเรียนที่ไม่ได้รับประทานอาหารมื้อเช้าทุกคน 15 ม.ค. 2564 20 ก.ค. 2564

 

จัดอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางโภชนาการ ครบ แก่นักเรียนที่ไม่ได้รับประทานอาหารมื้อเช้าทุกคน บริการอาหารเช้าเวลา 7.30-8.00 น. แก่นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย 50 คน

 

ส่งผลให้นักเรียนที่รับประทานอาหารเช้าทุกคน  มีน้ำหนัก ส่วนสูงเพิ่มขึ้น ทำให้นักเรียนกลุ่มเป้าหมายมีร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง มีสุขภาพอนามัยและสุขภาพจิตดี  ไม่มีอุปสรรคต่อการเรียนรู้ และการเจริญเติบโตของร่างกายเมื่อท้องอิ่ม จิตใจก็แจ่มใส  สมองพร้อมเปิดรับการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ ย่อมส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การพัฒนาทางด้านร่างกาย สติปัญญาและจิตใจที่สมบูรณ์

 

ประเมินภาวะโภชนาการเด็กนักเรียนโดยการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง เทียบเกณฑ์มาตรฐานและสรุปผลการดำเนินงาน 21 ก.ย. 2564 30 มิ.ย. 2564

 

ได้ดำเนินการประเมินภาวะโภชนาการเด็กนักเรียนโดยการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง เทียบเกณฑ์มาตรฐาน  จากผู้เข้าร่วมกิจกรรมนักเรียนจำนวน  ๕๐ คน แล้วนำผลมาวิเคราะห์ได้ผลดังนี้
- นักเรียนสมส่วน  15  คน - นักเรียนค่อนข้างผอม  11  คน - นักเรียนผอม  20  คน - นักเรียนเตี้ย  1  คน - นักเรียนผอมและเตี้ย  3  คน

 

ส่งผลให้นักเรียนที่รับประทานอาหารเช้าทุกคน  มีน้ำหนัก ส่วนสูงเพิ่มขึ้น