กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

นักเรียนที่ได้รับอาหารเช้า จากโครงการอาหารเช้า อิ่มท้อง สมองดีจะมีน้ำหนักและส่วนสูงเพิ่มขึ้น
- นักเรียนสมส่วน 15 คน
- นักเรียนค่อนข้างผอม 11 คน
- นักเรียนผอม 20 คน
- นักเรียนเตี้ย 1 คน
- นักเรียนผอมและเตี้ย 3 คน
ส่งผลให้มีสมาธิในการเรียน สุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง มีสุขภาพอนามัยและสุขภาพจิตดี ไม่มีอุปสรรคต่อการเรียนรู้ และการเจริญเติมโตของร่างกายเมื่อท้องอิ่ม จิตใจก็แจ่มใส สมองพร้อมเปิดรับการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ลดร้อยละของนักเรียนที่มีน้ำหนัก ส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์ มาตรฐาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่มีน้ำหนัก ส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์ มาตรฐานลดลง
19.50 15.00 13.00

 

2 ลดจำนวนนักเรียนที่ไม่ได้รับประทานอาหารมื้อเช้า
ตัวชี้วัด : จำนวนนักเรียนที่ไม่ได้รับประทานอาหารมื้อเช้าลดลง
50.00 0.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50 50
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ลดร้อยละของนักเรียนที่มีน้ำหนัก ส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์ มาตรฐาน (2) ลดจำนวนนักเรียนที่ไม่ได้รับประทานอาหารมื้อเช้า

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ติดตามเยี่ยมบ้านนักเรียน (2) การพัฒนาทักษะส่วนบุคคล การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค (3) สำรวจข้อมูลนักเรียนที่ไม่ได้รับประทานอาหารเช้าและภาวะโภชนาการ(น้ำหนักและส่วนสูง) (4) การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการระบบอาหาร (5) สนับสนุนให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมเพื่อการมีและเข้าถึงอาหาร ทำให้มีอาหารปลอดภัยบริโภค และบริโภคที่ถูกต้อง มีโภชนาการที่สมวัย (6) จัดหาอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางโภชนาการ ครบ แก่นักเรียนที่ไม่ได้รับประทานอาหารมื้อเช้าทุกคน (7) ประเมินภาวะโภชนาการเด็กนักเรียนโดยการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง เทียบเกณฑ์มาตรฐานและสรุปผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ต้อการให้โรงเรียนจัดกิจกรรมนี้อีกเพราะทำให้นักเรียนที่ได้รับอาหารเช้ามีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐานเพิ่มขึ้น มีร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง มีสุขภาพอนามัยและสุขภาพจิตดี

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh