กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาหม่อม


“ โครงการผักสวนครัวรั้วกินได้ลดโรคความดันและเบาหวาน ”

ตำบลนาหม่อม อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายช่วง ด้วงปาน

ชื่อโครงการ โครงการผักสวนครัวรั้วกินได้ลดโรคความดันและเบาหวาน

ที่อยู่ ตำบลนาหม่อม อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5207-02-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผักสวนครัวรั้วกินได้ลดโรคความดันและเบาหวาน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาหม่อม อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาหม่อม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผักสวนครัวรั้วกินได้ลดโรคความดันและเบาหวาน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผักสวนครัวรั้วกินได้ลดโรคความดันและเบาหวาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาหม่อม อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5207-02-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,840.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาหม่อม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคต่างๆที่เกิดขึ้นล้วนแต่เป็นเพราะพฤติกรรมจาการบริโภคของตัวบุคคลเองซึ่งส่วนใหญ่ในปัจจุบันซื้ออาหารจากนอกบ้าน ผักซื้อจากตลาดซึ่งอาจมีความไม่ปลอดภัยจากสารเคมี และจากสถิติกระทรวงสาธารณสุข พบว่าปัจจุบันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ที่นับวันจะเพิ่มมากขึ้น ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขต้องสูญเสียงบประมาณในการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และปัญหาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานอย่างต่อเนื่อง จากการศึกษาข้อมูล พบว่า ผู้ป่วยเบาหวานทั่วโลกเพิ่มมากขึ้น 4 ใน 5 เป็นชาวเอเชีย และจากรายงานของสำนักงานนโยบายและสาธารณสุข พบว่าสาเหตุการตายด้วยโรคเบาหวานมีอัตราเฉลี่ยร้อยละ 12 และ9พบว่าผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ขาดการตระหนักในการป้องกันและดูแลสุขภาพของตนเอง ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลและระดับความดันได้คงที่ซึ่งสาเหตุสำคัญในการดูแลและป้องกันโรคความดัน และเบาหวาน ทั้งในกลุ่มผู้ป่วยไม่ให้มีอาการรุนแรงปละป้องในกลุ่มเสี่ยง เรื่องการดูแลสุขภาพด้วยตนเองมีพฤติกรรมการดูแลตนเองเป็นสิ่งสำคัญมาก ทั้งเรื่องพฤติกรรมการรับประทานอาหารการกินยาการออกกำลังกาย และด้านอารมณ์มีความสำคัญมากในการป้องกันการเกิดโรคและลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนและเกิดผลกระทบจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ทางชมรมรักษ์สุขภาพ เห็นความสำคัญจึงมีประชุมสมาชิกชาวบ้านหมู่ที่ 1 ให้หันมาสนใจในการปลูกผักในการรับประทานเอง ซึ่งมีทั้งความปลอดภัยจากสารเคมี และได้มีการออกกำลังกายใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ส่งเสริมความรักความสามัคคีในครอบครัว และเป็นการให้ชุมชนหันกลับมาดำเนินชีวิตเศรษฐกิจแบบพอเพียงในการป้องกันโรค เน้นในด้านการป้องกันมากกว่าการรักษาพยาบาลและให้ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในชุมชนสามารถใช้ชีวิตอยู่กับโรคและสามารถดูแลสุขภาพได้อย่างถูกวิธีแบบพึ่งพาตนเอง ไม่ต้องพึ่งยามากเกินความจำเป็น การปลูกผักสวนครัว รั้วกินได้ เป็นการใช้ผักพื้นบ้านที่มีในชุมชนซึ่งสรรพคุณมีส่วนในการป้องกันและลดการเกิดโรคความดันและเบาหวาน และปลอดภัยจากสารพิษใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ส่งเสริมความรักความสามัคคีในชุมชนและนำเศษขยะมาเป็นปุ๋ยชีวภาพอีกทั้งยังสามารถแก้ปัญหาทางจิตใจ และมีการแลกเปลี่ยนผักที่มีเหลือในครัวเรือนในการรับประทานกับครัวเรือนอื่นในชุมชนทำให้มีการบริโภคผักที่หลากหลายชนิดและช่วยป้องกันการเกิดโรคความดัน เบาหวานและมีความปลอดภัยจากการใช้สารเคมี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ครอบครัวผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงได้มีพืชผักปลอดสารพิษในการบริโภค และป้องกันการเกิดโรคความดัน เบาหวาน
  2. เพื่อให้ชุมชนมีแหล่งเรียนรู้ให้เด็กเล็ก ชุมชน และบุคคลทั่วไป ได้ศึกษา
  3. ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น
  4. ลดอัตราการการเกิดโรคความดันและเบาหวาน
  5. มีการดำเนินการจัดตั้งชมรมรักษ์สุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนได้บริโภคผักปลอดสารพิษ
    2. ลดอัตราเจ็บป่วยของประชาชน
    3. ประชาชนได้ออกกำลังกาย
    4. ประชาชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ครอบครัวผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงได้มีพืชผักปลอดสารพิษในการบริโภค และป้องกันการเกิดโรคความดัน เบาหวาน
    ตัวชี้วัด : ครอบครัวผู้ป่วย/กลุ่มเสี่ยงร้อยละ 80 บริโภคอาหารที่ปลอดภัยและเหมาะสมกับโรค.

     

    2 เพื่อให้ชุมชนมีแหล่งเรียนรู้ให้เด็กเล็ก ชุมชน และบุคคลทั่วไป ได้ศึกษา
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80ของชุมชน มีแหล่งเรียนรู้ให้เด็กเล็ก กลุ่มผู้ป่วย กลุ่มเสี่ยง และบุคคลทั่วไปได้ศึกษา

     

    3 ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น
    ตัวชี้วัด : ผลการตรวจสุขภาพหลังเข้าร่วมโครงการสุขภาพดีขึ้นร้อยละ70.

     

    4 ลดอัตราการการเกิดโรคความดันและเบาหวาน
    ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยความดันและเบาหวานรายใหม่เพิ่มขึ้นไม่เกินร้อยละ 20

     

    5 มีการดำเนินการจัดตั้งชมรมรักษ์สุขภาพ
    ตัวชี้วัด : มีชมรมรักษ์สุขภาพ 1 ชมรม

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ครอบครัวผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงได้มีพืชผักปลอดสารพิษในการบริโภค และป้องกันการเกิดโรคความดัน เบาหวาน (2) เพื่อให้ชุมชนมีแหล่งเรียนรู้ให้เด็กเล็ก ชุมชน และบุคคลทั่วไป ได้ศึกษา (3) ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น (4) ลดอัตราการการเกิดโรคความดันและเบาหวาน (5) มีการดำเนินการจัดตั้งชมรมรักษ์สุขภาพ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการผักสวนครัวรั้วกินได้ลดโรคความดันและเบาหวาน จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L5207-02-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายช่วง ด้วงปาน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด