กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ บ้านทุ่งขมิ้นร่วมใจ ก้าวห่างโรคภัย จิตใจเข้มแข็ง ”
ตำบลทุ่งขมิ้น อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายวิจิตร แก้วสกูล




ชื่อโครงการ บ้านทุ่งขมิ้นร่วมใจ ก้าวห่างโรคภัย จิตใจเข้มแข็ง

ที่อยู่ ตำบลทุ่งขมิ้น อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ l5206-64- เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 ธันวาคม 2563 ถึง 29 ธันวาคม 2563

กิตติกรรมประกาศ

"บ้านทุ่งขมิ้นร่วมใจ ก้าวห่างโรคภัย จิตใจเข้มแข็ง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งขมิ้น อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งขมิ้น ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
บ้านทุ่งขมิ้นร่วมใจ ก้าวห่างโรคภัย จิตใจเข้มแข็ง



บทคัดย่อ

โครงการ " บ้านทุ่งขมิ้นร่วมใจ ก้าวห่างโรคภัย จิตใจเข้มแข็ง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งขมิ้น อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ l5206-64- ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 ธันวาคม 2563 - 29 ธันวาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งขมิ้น เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยกำลังจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ ในปี พ.ศ. 2564 โดยพิจารณาจากจำนวนประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป มากกว่า 20% ซึ่งวัยสูงอายุเป็นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านร่างกายและจิตใจ โดยด้านร่างกายจะเกิดการเปลี่ยนแปลงไปทางเสื่อมมากขึ้น เช่น ผิวหนังบางลง ชั้นไขมันหนาขึ้น ประสิทธิภาพการทำงานของสมองน้อยลง ประสิทธิภาพการทำงานของหัวใจลดลง ผนังหลอดเลือดสูญเสียนความยีดหยุ่น และต่อมไร้ท่อผลิตฉอร์โมนลดลง จากการเปลี่ยนแปลงเหลานี้ หากผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม จะส่งผลให้เกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังตามมาได้ สอดคล้องกับรายงานของสำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค พ.ศ. 2562 พบว่า มีผู้ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.70 และผู้ป่วยโรคเบาหวานเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.32 ซึ่งเห็นได้ว่าแนวโน้มการเกิดโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว การเปลี่ยนแปลงในวัยผู้สูงอายุ ไม่เพียงแต่สภาพร่างการเท่านั้น แต่ยังมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจ อารมณ์ ความรู้สึก การรับรู้และความจำ เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงของสารสื่อในสมอง การสูญเสียคู่ชีวิต มีการเจ็บป่วยทางกาย ทำให้เกิดความทุกข์ทรมาน หรือเกิดความรู้สึกว่าร่างกายไม่แข็งแรง เป็นภาระของครอบครัวและคุณค่าในตัวเองลดลง ส่งผลให้อารมณ์และความรุ้สึกแปรปรวน อาจทำให้เกิดอารมณ์ซึกมเศร้าได้ง่ายกว่าผู้คนในช่วงวัยอื่น จากรายงานของกรมสุขภาพจิตพบว่าในปี พ.ศ. 2560 มีคนไทยป่ยเป็นโรคซึมเศร้า 2.9 ล้านคน คิดเป้นร้อยละ 4.4 ของจำนวนประชากรทั้งหมดของประเทศ โดยผู้ป่วยส่วนใหญ่อยู่ในวัยสูงอายุ รองลงมาคือโรคอัลไซเมอร์ และภาวะสมองเสื่อม ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจของกรมสุขภาพจิตในปี พ.ศ. 2563 ที่พบว่าผู้สูงอายุเป็นโรคอัลไซเมอร์ประมาณร้อยละ 60 จากการลงสำรวจพื้นที่หมู่ที่ 6 บ้านทุ่งขมิ้น ตำบลทุ่งขมิ้น อำเภอนนาหม่อม จังหวัดสงขลา โดยนักศึกษาพยาบาลมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ช่วงวันที่ 7-15 ธันวาคม 2563 พบว่ามีผู้สูงอายุ จำนวน 186 คน คิดเป็นร้อยละ 19.40 ของประชากรทั้งหมด ซึ่งถือว่าเป็นสังคมสูงอายุ มีการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง 28 ครัวเรือน โรคจิตเวช 4 ครัวเรือน และผู้สูงอายุอาศัยอยู่บ้านตามลำพังในตอนกลางวัน 4 ครัวเรือน ซึ่งเห้นได้ว่า ประชาชนในหมู่บ้านมีแนวโน้มเกิดปัญหาสุขภาพทั้งด้านร่างกายและจิตใจ สอดคล้องกับผลการทำประชาคมระดับหมู่บ้านวันที่ 17 ธันวาคม 2563 โดยมีตัวแทนจากประชาชน คณะกรรมการหมู่บ้าน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งขมิ้น และนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทั้งหมด 67 คน ได้เล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าว จึงมีมติให้จัดโครงการ บ้านทุ่งขมิ่้นร่วมใจ ก้างห่างโรคภัย จิตใจเข้มแข็ง เพื่อให้บ้านทุ่งขมิ่้น มีแกนนำในการคัดกรองภาวะซึมเศร้า ตลอดจนประชาชนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองเกี่ยวกับการรับประทานอาหาร การออกกำลังกายและการจัดการความเครียด ส่งผลให้มีสุขภาพที่ดีทั้งด้านร่าวกายและจิตใจต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.เกิดกลุ่มแกนนำการคัดกรองภาวะซึมเศร้าและสมองเสื่อมเบื้องต้นในหมู่บ้าน 2.ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีสุขภาพกายและจิตใจที่ดี 3.ประชาชนสามารถจัดการกับปัญหาสุขภาพจิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    บ้านทุ่งขมิ้นร่วมใจ ก้าวห่างโรคภัย จิตใจเข้มแข็ง จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ l5206-64-

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายวิจิตร แก้วสกูล )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด