กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาท่อม


“ โครงการป้องกันความพิการแต่กำเนิด ปี 2560 ”

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาท่อม

หัวหน้าโครงการ
นายสุวรรณชัย นิยมสกุล

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันความพิการแต่กำเนิด ปี 2560

ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาท่อม จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 60-L3356-1-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2560 ถึง 20 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันความพิการแต่กำเนิด ปี 2560 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาท่อม

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาท่อม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันความพิการแต่กำเนิด ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันความพิการแต่กำเนิด ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาท่อม รหัสโครงการ 60-L3356-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2560 - 20 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 3,320.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาท่อม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ความพิการแต่กำเนิดองค์การอนามัยโลกทำการสำรวจความพิการแต่กำเนิดในทารกทั่วโลกพบว่า ทารกมีความพิการแต่กำเนิด 3-5% หรือ ปีละประมาณ 8 ล้านคน จากทารกที่คลอดประมาณ 130 ล้านคนต่อปี โดยความพิการแต่กำเนิดแบ่งได้เป็น 2 ส่วน คือ 1. ความพิการทางด้านโครงสร้างของร่างกาย เช่น คลอดออกมาแล้วเป็นโรคหัวใจ ปากแหว่งเพดานโหว่ แขนขาขาด และ 2. ความพิการของการทำงานในหน้าที่และภาวะร่างกาย เช่น มีภาวะต่อมไทรอยด์บกพร่อง หรือกลุ่มโรคโลหิตจางซึ่งภาวะนี้ส่งผลกระทบตั้งแต่ระดับครอบครัวของทารกที่มีความพิการแต่กำเนิด ภาระของครอบครัวที่แบกรับ รวมถึงผลกระทบต่อจิตใจของบิดา มารดา ที่มีทารกที่มีความพิการแต่กำเนิด จนถึงปัญหาในระดับประเทศโดยเฉพาะในด้านค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาทารกกลุ่มนี้ความพิการแต่กำเนิดนั้นเป็นสิ่งที่ป้องกันได้ โดยเฉพาะการเสริมวิตามินโฟเลต หรือ โฟลิกแอซิด (Folic Acid) ให้แก่หญิงวัยเจริญพันธุ์ก่อนการตั้งครรภ์ ประโยชน์ของโฟลิกแอซิด หากมารดาที่มีโฟเลตต่ำกว่ามาตรฐาน สารดีเอ็นเอ จะไม่เพียงพอต่อการสร้างเซลล์เนื้อเยื่ออวัยวะต่างๆ ของทารกได้ครบถ้วนสมบูรณ์ ทำให้เด็กที่เกิดมามีความพิการ ดังนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่หญิงวัยเจริญพันธุ์ทุกคนที่มีโอกาสตั้งครรภ์ ควรกินวิตามินโฟเลต หรือ โฟลิกแอซิด ทุกวัน วันละ 1 เม็ด ที่สำคัญจะต้องรับประทานในช่วงก่อน 6 สัปดาห์ หรือ 1-2 เดือนก่อนตั้งครรภ์ จนถึงตั้งครรภ์ครบ 3 เดือน แต่หากยังไม่ตั้งครรภ์ก็ให้กินต่อไปเรื่อยๆ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาท่อมได้ตระหนักถึงความสำคัญของการป้องกันความพิการแต่กำเนิดจึงได้จัดทำโครงการป้องกันความพิการแต่กำเนิดขึ้น ตามนโยบายโครงการส่งเสริมสาวไทยแก้มแดง มีลูกเพื่อชาติด้วยวิตามินแสนวิเศษ เพื่อตอบสนองนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์แห่งชาติ ฉบับที่ 2

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพี่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจถึงประโยชน์และความจำเป็นในการกินโฟลิกแอซิด
  2. เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์มีความรู้ความเข้าใจถึงประโยชน์และความจำเป็นในการกินโฟลิกแอซิด
  3. เพื่อให้อาสาสมัครหญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 20-34 ปี ที่พร้อมจะตั้งครรภ์ได้กิน โฟลิกเอซิด ทุกคน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 121
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจถึงประโยชน์และความจำเป็นในการกินโฟลิกแอซิด
    2. หญิงวัยเจริญพันธุ์มีความรู้ความเข้าใจถึงประโยชน์และความจำเป็นในการกินโฟลิกแอซิด
    3. อาสาสมัครหญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ 20-34 ปีก่อนการตั้งครรภ์ ได้กินโฟลิกแอซิดทุกคน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขและอาสาสมัครหญิงวัยเจริญพันธุ์

    วันที่ 30 สิงหาคม 2560 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เพื่อตอบสนองนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์แห่งชาติ ฉบับที่ ๒ อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจถึงประโยชน์และความจำเป็นในการกินโฟลิคแอซิด หญิงวัยเจริญพันธุ์มีความรู้ความเข้าใจถึงประโยชน์และความจำเป็นในการกินโฟลิคแอซิด และอาสาสมัครหญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ 20-34 ปี ก่อนการตั้งครรภ์ได้กินโฟลิคแอซิดทุกคน

     

    121 121

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการป้องกันความพิการแต่กำเนิดจึงได้จัดทำโครงการป้องกันความพิการแต่กำเนิดขึ้น ตามนโยบายโครงการส่งเสริมสาวไทยแก้มแดง มีลูกเพื่อชาติด้วยวิตามินแสนวิเศษ เพื่อตอบสนองนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์แห่งชาติ ฉบับที่ ๒ อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจถึงประโยชน์และความจำเป็นในการกินโฟลิคแอซิด หญิงวัยเจริญพันธุ์มีความรู้ความเข้าใจถึงประโยชน์และความจำเป็นในการกินโฟลิคแอซิด และอาสาสมัครหญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ 20-34 ปี ก่อนการตั้งครรภ์ได้กินโฟลิคแอซิดทุกคน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพี่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจถึงประโยชน์และความจำเป็นในการกินโฟลิกแอซิด
    ตัวชี้วัด : อสม. 81 คนได้เรียนรู้มีความรู้ความเข้าใจถึงประโยชน์และความจำเป็นในการกินโฟลิกแอซิด

     

    2 เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์มีความรู้ความเข้าใจถึงประโยชน์และความจำเป็นในการกินโฟลิกแอซิด
    ตัวชี้วัด : หญิงวัยเจริญพันธุ์มีความรู้ความเข้าใจถึงประโยชน์และความจำเป็นในการกินโฟลิกแอซิด

     

    3 เพื่อให้อาสาสมัครหญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 20-34 ปี ที่พร้อมจะตั้งครรภ์ได้กิน โฟลิกเอซิด ทุกคน
    ตัวชี้วัด : อาสาสมัครหญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 20-34 ปีก่อนการตั้งครรภ์ ได้กินโฟลิกแอซิดทุกคน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 121
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 121
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพี่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจถึงประโยชน์และความจำเป็นในการกินโฟลิกแอซิด (2) เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์มีความรู้ความเข้าใจถึงประโยชน์และความจำเป็นในการกินโฟลิกแอซิด (3) เพื่อให้อาสาสมัครหญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 20-34 ปี ที่พร้อมจะตั้งครรภ์ได้กิน โฟลิกเอซิด ทุกคน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการป้องกันความพิการแต่กำเนิด ปี 2560 จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 60-L3356-1-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสุวรรณชัย นิยมสกุล )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด