กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน


“ โครงการรักษ์สุขภาพกับปลูกผักปลอดสารพิษ ”

โรงเรียนบ้านวังตง ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายวิทยา มิ่งมาก

ชื่อโครงการ โครงการรักษ์สุขภาพกับปลูกผักปลอดสารพิษ

ที่อยู่ โรงเรียนบ้านวังตง ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 23/64

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรักษ์สุขภาพกับปลูกผักปลอดสารพิษ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนบ้านวังตง ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรักษ์สุขภาพกับปลูกผักปลอดสารพิษ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรักษ์สุขภาพกับปลูกผักปลอดสารพิษ " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนบ้านวังตง ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ได้กำหนด การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุดกระบวนการจัดการเรียนรู้ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ พืชผักเป็นอาหารที่คนไทยส่วนใหญ่นิยมนำมาใช้รับประทานกันมาก เนื่องจากมัคุณค่าทางอาหารทั้งวิตามินและแร่ธาตุต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายสูง แต่ค่านิยมที่บริโภคผักนั้นมักละเลือกผักที่สวยงามไม่มีร่องรอยการทำลายของหนอนและแมลงศัตรูพืช จึงทำให้เกษตรกรที่ปลูกผัก ต้องใช้สารเคมีป้องกันและกำจัดแมลงฉีดพ่นในปบริมาณที่มาก เพื่อให้ได้ผักที่สวยงามตามความต้องการของตลาก เมื่อผู้ซื่อนำมาบริโภค แล้วอาจได้รับอันตรายจากสารพิษตกค้างที่อยู่ในพืชผักนั้นได้ ส่งผลเสียต่อสุขภาพร่างกายของคนเรา จากปัญหาดังกล่าว โรงเรียนบ้านวังตงเห็นความสำคัญของสุขภาพนักเรียน ส่งเสริมให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3- มัธยมศึกษาปีที่ 3 ทำกิจกรรมปลูกผักไร้ดินปลอดสารพิษภายในโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้ ขั้นตอน กระบวนการ วิธีการดำเนินงานในการปลูกผักที่ปลอดสารพิษ ซึ่งเป็นอาหารที่เด็กนักเรียนภาคภูมิใจเพราะเป็นผักที่ตนเองและเพื่อนๆ ช่วยกันปลูก รดน้ำและพรวนดินจนเจริญเติบโตให้เราได้รับประทาน ทำให้เด็กได้รู้จักความรับผิดชอบของตนเอง และรู้จักการทำงานร่วมกันเป็นทีม เป็นการฝึกฝนให้เหมาะสมกับวัย ทำให้เด็กนักเรียนมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา รู้จักการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่างเหมาะสมกับวัยและสิ่งสำคัญคือนักเรียนรู้รักษ์สุขภาพของตนเองเพื่อความสมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ ทางโรงเรียนจึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของเรื่องนี้มากเป็นพิเศษจึงเกิดความคิดในการจัดทำโครงการ รักษ์สุขภาพกับผักปลอดสารพิษ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนได้บริโภคผักที่ปลอดสารพิษที่มีประโยชน์ตามหลักโภชนาการสุขภาพแข็ง
  2. เพื่อให้นักเรียนสามารถเลือกบริโภคอาหารและวิธีการประกอบอาหารที่สะอาด ปลอดภัย
  3. เพื่อให้นักเรียนรู้จักแนวทางในการปลูกผักปลอดสารพิษ เพื่อเป็นอาหาร
  4. เพื่อให้นักเรียนนำความรู้ไปต่อยอดประกอบอาชีพในอนาคต
  5. เพื่อให้นักเรียนเกิดความรักษ์สุขภาพที่สมบูรณ์ แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เตรียมการ นำเสนอ โครงการ ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง
  2. อบรมให้ความรู้การปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียนบริโภคผักที่มีคุณภาพ ไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยต่อสุขภาพของนักเรียน 2.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการเลือกบริโภคอาหารที่ปลอดภัย 3.นักเรียนรักษ์ตระหนักถึงความสำคัญในสุขภาพของตนเอง 4.นักเรียนเกิดองค์ความรู้เพื่อเป็นแนวทางในการปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อเป็นอาหารและต่อยอดประกอบอาชีพในอนาคต


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนได้บริโภคผักที่ปลอดสารพิษที่มีประโยชน์ตามหลักโภชนาการสุขภาพแข็ง
ตัวชี้วัด : นักเรียนบริโภคผักที่มีคุณภาพ ไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยต่อสุขภาพของนักเรียน
1.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนสามารถเลือกบริโภคอาหารและวิธีการประกอบอาหารที่สะอาด ปลอดภัย
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการเลือกบริโภคอาหารที่ปลอดภัย
0.00

 

3 เพื่อให้นักเรียนรู้จักแนวทางในการปลูกผักปลอดสารพิษ เพื่อเป็นอาหาร
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อให้นักเรียนนำความรู้ไปต่อยอดประกอบอาชีพในอนาคต
ตัวชี้วัด : เป็นอาหารและต่อยอดประกอบอาชีพในนาคต
0.00

 

5 เพื่อให้นักเรียนเกิดความรักษ์สุขภาพที่สมบูรณ์ แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ
ตัวชี้วัด : นักเรียนเกิดองค์ความรู้เพื่อเป็นแนวทางในการปลูกผักปลอดสารพิษ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนได้บริโภคผักที่ปลอดสารพิษที่มีประโยชน์ตามหลักโภชนาการสุขภาพแข็ง (2) เพื่อให้นักเรียนสามารถเลือกบริโภคอาหารและวิธีการประกอบอาหารที่สะอาด ปลอดภัย (3) เพื่อให้นักเรียนรู้จักแนวทางในการปลูกผักปลอดสารพิษ เพื่อเป็นอาหาร (4) เพื่อให้นักเรียนนำความรู้ไปต่อยอดประกอบอาชีพในอนาคต (5) เพื่อให้นักเรียนเกิดความรักษ์สุขภาพที่สมบูรณ์ แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เตรียมการ นำเสนอ โครงการ ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง (2) อบรมให้ความรู้การปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรักษ์สุขภาพกับปลูกผักปลอดสารพิษ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายวิทยา มิ่งมาก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด