กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ


“ โครงการเฝ้าระวังโรคโควิค 19 ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ”

ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายสยมภู รักษ์สังข์

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังโรคโควิค 19 ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ที่อยู่ ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64-L1504-3-01 เลขที่ข้อตกลง 01/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 ธันวาคม 2563 ถึง 29 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังโรคโควิค 19 ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังโรคโควิค 19 ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังโรคโควิค 19 ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 64-L1504-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 ธันวาคม 2563 - 29 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 63,760.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ซึ่งย่อมาจาก “Coronavirus disease 2019” เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส ที่ระบาดเมื่อปี 2545 ทำให้เกิดโรคทางเดินหายใจอักเสบเฉียบพลันปอดอักเสบและมีภาวะแทรกซ้อน การติดต่อของโรคนี้ติดต่อกันระบบทางเดินหายใจซึ่งเชื้อจะแพร่กระจายอยู่ในอยู่ในอากาศหากมีประชาชนอยู่กันอย่างแออัดและเดินทางไปในพื้นที่เสี่ยงสามารถรับเชื้อแพร่ไปยังบุคคลอื่นได้ง่าย การป้องกันตนเองจึงเป็นมาตรการสำคัญที่สุดที่จะช่วยให้ปลอดภัยจากการเป็นโรคนี้   ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เป็นแหล่งรวมของเด็กที่มาจากต่างหมู่บ้าน มาอยู่รวมกันซึ่งมีภาวะเสี่ยงหากมีบุคคลใกล้ชิดได้รับเชื้อเด็กอาจจะนำเชื้อมาแพร่กระจายที่ศูนย์ได้ประกอบกับเด็กมีภูมิต้านทานน้อยจึงควรเน้นให้เด็กและผู้ปกครองและบุคคลภายในบ้านรู้ถึงการแพร่กระจายระบาดและการป้องกันโรคซึ่งจะทำให้ปลอดภัยจากการติดเชื้อ   เพื่อเป็นการป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) มาตรการที่สำคัญคือ การป้องกันตนเองมิให้สัมผัสกับโรคโดยการหลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานที่แออัด หรือมลภาวะและไม่อยู่ใกล้ชิดผู้ป่วยไอหรือจาม รวมถึงการสวมหน้ากากอนามัย และการล้างมือ ดังนั้น เพื่อให้เด็กและผู้ปกครองทุกคนเข้าถึงหน้ากากอนามัย และการล้างมือเพื่อป้องกันโรค ไม่เฉพาะโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) เท่านั้น รวมถึงโรคระบาดหรือโรคติดต่ออุบัติใหม่ที่เกิดขึ้นในอนาคต จึงเห็นควรให้มีการบูรณาการความร่วมมือจัดให้มีการดำเนินการให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองให้กับเด็กและผู้ปกครองของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด 19 ภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  2. เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ให้กับผู้ปกครองและเด็ก
  3. เพื่อให้เด็กรู้จักการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากโรคติดต่อ
  4. เพื่อสร้างนิสัยให้เด็กรู้จักดูแลสุขภาพตนเอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 80
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 80
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)   2. ผู้ปกครองรู้จักการเฝ้าระวังเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)   3. เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือปลอดภัยจากโรคติดต่อ

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้เฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด 19 ภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    2 เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ให้กับผู้ปกครองและเด็ก
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    3 เพื่อให้เด็กรู้จักการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากโรคติดต่อ
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    4 เพื่อสร้างนิสัยให้เด็กรู้จักดูแลสุขภาพตนเอง
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 160
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 80
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 80
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด 19 ภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (2) เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ให้กับผู้ปกครองและเด็ก (3) เพื่อให้เด็กรู้จักการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากโรคติดต่อ (4) เพื่อสร้างนิสัยให้เด็กรู้จักดูแลสุขภาพตนเอง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเฝ้าระวังโรคโควิค 19 ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 64-L1504-3-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสยมภู รักษ์สังข์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด