โครงการเร่งรัดความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเร่งรัดความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล ”
ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวศิริมา หมาดเต๊ะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ
กันยายน 2564
ชื่อโครงการ โครงการเร่งรัดความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
ที่อยู่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 64-L5287-1-14 เลขที่ข้อตกลง 10/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 15 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเร่งรัดความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเร่งรัดความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเร่งรัดความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 64-L5287-1-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 15 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,775.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามนโยบสยของกระทรวงสาธารณสุขและยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน การได้รับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของเด็ก เด็กทุกคนในประเทศไทยควรได้รับวัคซีนพื้นฐานครบทุกชนิดตามกำหนดของกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งรวมถึงการได้รับวัคซีนกระตุ้นตามกำหนดที่เหมาะสมสำหรับวัคซีนแต่ละชนิด ซึ่งหากเด็กกลุ่มวัยดังกล่าวมีอัตราป่วยและตายด้วยวัยที่ไม่สมควร เนื่องจากโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนแล้ว หมู่บ้านชุมชน และประเทศชาติจะพัฒนาไปได้อย่างไรในอนาคต ฉะนั้นการเร่งติดตามให้กลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการฉีดวัคซีนให้คลอบคลุมตามแผนที่วางไว้ จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะต้องดำเนินการซึ่งการบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคจะต้องจัดให้แก่ประชาชนด้วยความสะดวกและปลอดภัย งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ต้องดำเนินการใก้คลอบคลุมประชากรเป้าหมายในระดับสูงที่สุดและมีความต่อเนื่องต่อไป
จากการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของโรงพยาบาลท่าแพ พบว่า กลุ่มเด็ก 0 - 5 ปีที่มารับบริการคิดเป็นร้อยละ 86.94 ซึ่งต่ำกว่ามาตราฐานที่กำหนดคือ ร้อยละ 95 ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมายตามแผนอัตราความคอบคลุมวัคซีนขั้นพื้นฐาน โรงพยาบาลท่าแพจึงได้จัดทำโครงการเร่งรัดความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูลปีงบประมาณ 2564 เพื่อให้เด็กปฐมวัย 0 - 5 ปี ที่ยังไม่ได้รับวัคซีนได้รับการติดตามและให้บริการวัคซีนเพื่อป้องกันไม่เกิดโรคติดต่อป้องกันได้ด้วยวัคซีนในเขตพื้นที่รับผิดชอบที่อาจจะเกิดขึ้นกับประชากรกลุ่มอายุดังกล่าวไปสู่อนาคตต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้เด็กปฐมวัย 0 - 5 ปีที่ยังไม่ได้รับวัคซีนได้รับการติดตามและให้บริการวัคซีน
- 2. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และความเข้าใจเห็นความสำคัญของการนำบุตรมารับวัคซีนตามวัยโดยมีอาสาสมัครสาธารณสุขช่วยในการติดตาม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมติดตามและให้บริการวัคซีน
- อบรมให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
10
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กปฐมวัย 0 - 5 ปีได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคครอบคลุมตามวัย
- เด็กปฐมวัย 0 - 5 ปี ที่รับวัคซีนนอกสถานบริการของรัฐได้รับการติดตามและประเมินผลความครอบคลุมของการได้รับวัคซีน
- ไม่เกิดโรคติดต่อป้องกันได้ด้วยวัคซีนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
รายงานผลการดำเนินงานโครงการเร่งรัดความคลอบคลุมของการได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ประจำปีงบประมาณ 2564
1. รายละเอียดองค์กร/หน่วยงานของรัฐ
ประเภทขององค์กร : หน่วยงานของรัฐ
ชื่อองค์กร : โรงพยาบาลท่าแพ
ชื่อหัวหน้าหน่วยงาน : นายแพทย์พันธุ์เชษฐู์ บุญช่วย
ที่ตั้งสำนักงาน : กลุ่มงานเวชศาสตร์ครอบครัวและบริการปฐมภูมิ
2. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการที่ขอรับเงินกองทุน : โครงการเร่งรัดความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ประจำปีงบประมาณ 2564
จำนวนเงินที่ได้รับการสนับสนุน เป็นเงิน 15,775 .- บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวศิริมา หมาดเต๊ะ
3. กลุ่มเป้าหมาย
3.1 กิจกรรมที่ 1 ติดตามและให้บริการวัคซีนเด็กในกลุ่มที่ยังขาดความคลอบคลุมของการได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้งกันโรค แยกตามรายหมู่บ้าน หมู่ที่ 1 - 10 เขตตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
3.2 กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรุ้เรื่องวัคซีนสสร้างเาริมภูมิคุ้มกันโรค แก่ผู้ปกครอง เด็กและอาสาสมัครสาธารณสุข
4. สถานที่ในการจัดประชุม : ห้องประชุมศาลาเอนกประสงค์ หมู่ที่ 8 บ้านดาหลำ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล และพื้นที่ติดตามเยี่ยม พื้นที่ตำบลท่าแพ จำนวน 10 หมู่บ้าน
5. ผลการดำเนินงานและผลลัพท์
5.1 กิจกรรมที่ยังไม่ดำเนินงาน : ไม่มี
5.2 การประเมินผลความสำเร็จของโครงการ
5.2.1 จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมาย 2 เดือน - 5 ปี ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ รวมทั้งผู้ปกครอง ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้าน จำนวน 55 ราย เพื่อตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนและนำข้อมูลที่ได้รับวัคซีนมาบันทึกความครอบคลุม ในกรณีที่ได้รับมาจากคลินิคเอกชน อัตรา ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนเด็กอายุ ครบ 1 ปี จำนวนทั้งหมด 89 ราย จากจำนวนทั้งหมด 90 ราย คิดเป็นร้อยละ 98.89
5.2.2 แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขได้รับความรู้ เรื่องการสร้างเสริมภูมคุ้มกันโรค จำนวน 50 ราย และมีความู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 100 จากการทำแบบทดสอบก่อนการอบรม กลุ่มเป้าหมายผ่านเกณฑ์ จำนวน 37 ราย โดยคิดเป็นร้อยละ 74 และหลังอบรมกลุ่มเป้าหมายผ่านเกณฑ์ จำนวน 50 ราย คิดเป็นร้อยละ 100
6. ข้อเสนอแนะ ในการจัดทำโครงการครั้งต่อไป ปัญหาและอุปสรรค แนวทางแก้ไข
6.1 กลุ่มเป้าหมายย้านที่อยู่ โดยที่ทาง เจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานไม่ทราบ ทำให้ติดตามข้อมูลไม่ได้
6.2 บางรายที่ไปรับที่สถานบริการเอกชน แล้ว ไม่มีการนำสมุดบันทึก มาให้บริการ บันทึกประวัติการได้รับวัคซีน ทำให้ข้อมูลไม่เป็นปัจจุบัน
แนวทางแก้ไข : เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงาน มีการติดตามข้อมูลและบันทึกข้อมูลให้เป็นปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง 2 - 3 เดือนครั้ง
7. ข้อเสนอแนะขององค์กร ให้มีการสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการในโอกาสต่อไป
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้เด็กปฐมวัย 0 - 5 ปีที่ยังไม่ได้รับวัคซีนได้รับการติดตามและให้บริการวัคซีน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของเด็กปฐมวัย 0 -5 ปี ที่ยังไม่ได้รับวัคซีนได้รับการติดตามและให้บริการวัคซีน
100.00
98.89
2
2. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และความเข้าใจเห็นความสำคัญของการนำบุตรมารับวัคซีนตามวัยโดยมีอาสาสมัครสาธารณสุขช่วยในการติดตาม
ตัวชี้วัด : ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนตามวัยของเด็ก 0 - 5 ปี ร้อยละ 90
90.00
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
10
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
10
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เด็กปฐมวัย 0 - 5 ปีที่ยังไม่ได้รับวัคซีนได้รับการติดตามและให้บริการวัคซีน (2) 2. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และความเข้าใจเห็นความสำคัญของการนำบุตรมารับวัคซีนตามวัยโดยมีอาสาสมัครสาธารณสุขช่วยในการติดตาม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมติดตามและให้บริการวัคซีน (2) อบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเร่งรัดความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 64-L5287-1-14
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวศิริมา หมาดเต๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเร่งรัดความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล ”
ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวศิริมา หมาดเต๊ะ
กันยายน 2564
ที่อยู่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 64-L5287-1-14 เลขที่ข้อตกลง 10/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 15 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเร่งรัดความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเร่งรัดความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเร่งรัดความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 64-L5287-1-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 15 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,775.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามนโยบสยของกระทรวงสาธารณสุขและยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน การได้รับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของเด็ก เด็กทุกคนในประเทศไทยควรได้รับวัคซีนพื้นฐานครบทุกชนิดตามกำหนดของกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งรวมถึงการได้รับวัคซีนกระตุ้นตามกำหนดที่เหมาะสมสำหรับวัคซีนแต่ละชนิด ซึ่งหากเด็กกลุ่มวัยดังกล่าวมีอัตราป่วยและตายด้วยวัยที่ไม่สมควร เนื่องจากโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนแล้ว หมู่บ้านชุมชน และประเทศชาติจะพัฒนาไปได้อย่างไรในอนาคต ฉะนั้นการเร่งติดตามให้กลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการฉีดวัคซีนให้คลอบคลุมตามแผนที่วางไว้ จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะต้องดำเนินการซึ่งการบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคจะต้องจัดให้แก่ประชาชนด้วยความสะดวกและปลอดภัย งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ต้องดำเนินการใก้คลอบคลุมประชากรเป้าหมายในระดับสูงที่สุดและมีความต่อเนื่องต่อไป จากการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของโรงพยาบาลท่าแพ พบว่า กลุ่มเด็ก 0 - 5 ปีที่มารับบริการคิดเป็นร้อยละ 86.94 ซึ่งต่ำกว่ามาตราฐานที่กำหนดคือ ร้อยละ 95 ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมายตามแผนอัตราความคอบคลุมวัคซีนขั้นพื้นฐาน โรงพยาบาลท่าแพจึงได้จัดทำโครงการเร่งรัดความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูลปีงบประมาณ 2564 เพื่อให้เด็กปฐมวัย 0 - 5 ปี ที่ยังไม่ได้รับวัคซีนได้รับการติดตามและให้บริการวัคซีนเพื่อป้องกันไม่เกิดโรคติดต่อป้องกันได้ด้วยวัคซีนในเขตพื้นที่รับผิดชอบที่อาจจะเกิดขึ้นกับประชากรกลุ่มอายุดังกล่าวไปสู่อนาคตต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้เด็กปฐมวัย 0 - 5 ปีที่ยังไม่ได้รับวัคซีนได้รับการติดตามและให้บริการวัคซีน
- 2. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และความเข้าใจเห็นความสำคัญของการนำบุตรมารับวัคซีนตามวัยโดยมีอาสาสมัครสาธารณสุขช่วยในการติดตาม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมติดตามและให้บริการวัคซีน
- อบรมให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 10 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กปฐมวัย 0 - 5 ปีได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคครอบคลุมตามวัย
- เด็กปฐมวัย 0 - 5 ปี ที่รับวัคซีนนอกสถานบริการของรัฐได้รับการติดตามและประเมินผลความครอบคลุมของการได้รับวัคซีน
- ไม่เกิดโรคติดต่อป้องกันได้ด้วยวัคซีนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
รายงานผลการดำเนินงานโครงการเร่งรัดความคลอบคลุมของการได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ประจำปีงบประมาณ 2564
1. รายละเอียดองค์กร/หน่วยงานของรัฐ
ประเภทขององค์กร : หน่วยงานของรัฐ
ชื่อองค์กร : โรงพยาบาลท่าแพ
ชื่อหัวหน้าหน่วยงาน : นายแพทย์พันธุ์เชษฐู์ บุญช่วย
ที่ตั้งสำนักงาน : กลุ่มงานเวชศาสตร์ครอบครัวและบริการปฐมภูมิ
2. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการที่ขอรับเงินกองทุน : โครงการเร่งรัดความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ประจำปีงบประมาณ 2564
จำนวนเงินที่ได้รับการสนับสนุน เป็นเงิน 15,775 .- บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวศิริมา หมาดเต๊ะ
3. กลุ่มเป้าหมาย
3.1 กิจกรรมที่ 1 ติดตามและให้บริการวัคซีนเด็กในกลุ่มที่ยังขาดความคลอบคลุมของการได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้งกันโรค แยกตามรายหมู่บ้าน หมู่ที่ 1 - 10 เขตตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
3.2 กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรุ้เรื่องวัคซีนสสร้างเาริมภูมิคุ้มกันโรค แก่ผู้ปกครอง เด็กและอาสาสมัครสาธารณสุข
4. สถานที่ในการจัดประชุม : ห้องประชุมศาลาเอนกประสงค์ หมู่ที่ 8 บ้านดาหลำ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล และพื้นที่ติดตามเยี่ยม พื้นที่ตำบลท่าแพ จำนวน 10 หมู่บ้าน
5. ผลการดำเนินงานและผลลัพท์
5.1 กิจกรรมที่ยังไม่ดำเนินงาน : ไม่มี
5.2 การประเมินผลความสำเร็จของโครงการ
5.2.1 จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมาย 2 เดือน - 5 ปี ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ รวมทั้งผู้ปกครอง ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้าน จำนวน 55 ราย เพื่อตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนและนำข้อมูลที่ได้รับวัคซีนมาบันทึกความครอบคลุม ในกรณีที่ได้รับมาจากคลินิคเอกชน อัตรา ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนเด็กอายุ ครบ 1 ปี จำนวนทั้งหมด 89 ราย จากจำนวนทั้งหมด 90 ราย คิดเป็นร้อยละ 98.89
5.2.2 แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขได้รับความรู้ เรื่องการสร้างเสริมภูมคุ้มกันโรค จำนวน 50 ราย และมีความู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 100 จากการทำแบบทดสอบก่อนการอบรม กลุ่มเป้าหมายผ่านเกณฑ์ จำนวน 37 ราย โดยคิดเป็นร้อยละ 74 และหลังอบรมกลุ่มเป้าหมายผ่านเกณฑ์ จำนวน 50 ราย คิดเป็นร้อยละ 100
6. ข้อเสนอแนะ ในการจัดทำโครงการครั้งต่อไป ปัญหาและอุปสรรค แนวทางแก้ไข
6.1 กลุ่มเป้าหมายย้านที่อยู่ โดยที่ทาง เจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานไม่ทราบ ทำให้ติดตามข้อมูลไม่ได้
6.2 บางรายที่ไปรับที่สถานบริการเอกชน แล้ว ไม่มีการนำสมุดบันทึก มาให้บริการ บันทึกประวัติการได้รับวัคซีน ทำให้ข้อมูลไม่เป็นปัจจุบัน
แนวทางแก้ไข : เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงาน มีการติดตามข้อมูลและบันทึกข้อมูลให้เป็นปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง 2 - 3 เดือนครั้ง
7. ข้อเสนอแนะขององค์กร ให้มีการสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการในโอกาสต่อไป
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้เด็กปฐมวัย 0 - 5 ปีที่ยังไม่ได้รับวัคซีนได้รับการติดตามและให้บริการวัคซีน ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของเด็กปฐมวัย 0 -5 ปี ที่ยังไม่ได้รับวัคซีนได้รับการติดตามและให้บริการวัคซีน |
100.00 | 98.89 |
|
|
2 | 2. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และความเข้าใจเห็นความสำคัญของการนำบุตรมารับวัคซีนตามวัยโดยมีอาสาสมัครสาธารณสุขช่วยในการติดตาม ตัวชี้วัด : ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนตามวัยของเด็ก 0 - 5 ปี ร้อยละ 90 |
90.00 | 100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 10 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 10 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เด็กปฐมวัย 0 - 5 ปีที่ยังไม่ได้รับวัคซีนได้รับการติดตามและให้บริการวัคซีน (2) 2. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และความเข้าใจเห็นความสำคัญของการนำบุตรมารับวัคซีนตามวัยโดยมีอาสาสมัครสาธารณสุขช่วยในการติดตาม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมติดตามและให้บริการวัคซีน (2) อบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเร่งรัดความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 64-L5287-1-14
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวศิริมา หมาดเต๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......