โครงการเฝ้าระวังการตั้งครรภ์ภาวะเสี่ยงสูงในหญิงตั้งครรภ์
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังการตั้งครรภ์ภาวะเสี่ยงสูงในหญิงตั้งครรภ์ ”
ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางปริญา หมันนาเกลือ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ
กันยายน 2564
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังการตั้งครรภ์ภาวะเสี่ยงสูงในหญิงตั้งครรภ์
ที่อยู่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 64 - L 5287 - 1 19 เลขที่ข้อตกลง 15/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 15 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังการตั้งครรภ์ภาวะเสี่ยงสูงในหญิงตั้งครรภ์ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังการตั้งครรภ์ภาวะเสี่ยงสูงในหญิงตั้งครรภ์
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังการตั้งครรภ์ภาวะเสี่ยงสูงในหญิงตั้งครรภ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 64 - L 5287 - 1 19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 15 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,832.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ภาวะครรภ์เสี่ยง หมายถึง การตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงซึ่งส่งผลกระทบต่อแม่และทารกในครรภ์ โดยอาจทำให้เกิดอันตรายหรือเสียชีวิตได้ทั้งในขณะตั้งครรภ์ คลอด หรือหลังคลอด ภาวะเสี่ยงสามารถเกิดได้จากหลายปัจจัย เช่น โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ ความดันโลหิตสูงขระตั้งครรภ์ มีประวัติครรถ์เป็นพิษ มีประวัติทารกคลอดก่อนคือคลอดก่อนอายุครรภ์ 37 สัปดาห์ มีประวัติเคยแท้งบุตรมาแล้วไม่ต่ำกว่า 2 ครั้งติดต่อกัน มีประวัติเคยคลอดบุตรนำ้หนักครรภ็น้อยกว่า 2,500 กรัม หรือมากกว่า 4,000 กรัม หรือโรคทางพันธุกรรมต่างๆ เช่น โลหิตจาง ต่อมไทรอยด์เป็นพิษภาวะภูมิคุ้มกันไวเกิน (SLE) โรคทาลัสซีเมีย โรคติดเชื้อ HIV (โรคเอดส์) การมโรค หรือพาหะตับอักเสบหากสตรีที่วางแผนตั้งครรภ์หรือหญิงตั้งครรภ์ที่มีปัจจัยเสี่ยงดังกล่าวข้างต้นนี้ ควรเข้ารับคำปรึกษาและได้รับการดูแลในดรงพยาบาลที่มีความพร้อมทั้งทางด้านอุปกรณ์และบุคลากรทางการแพทย์ที่มีประสบการณ์และความเชี่ยวชาญสูง เพื่อให้การดูแลรักษาเหมาะสมถูกต้อง และปลอดภัย
การดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงความสำคัญอย่างมากต่อความปลอดภัยของลูกน้อยและต่อมารดา การใส่ใจในสุขสุขภาพจะช่วยหญิงตั้งครรภ์และทารกที่มีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง อย่างไรก็ดีวิธีการดูแลตนเองอาจแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับภาวะเสี่ยงที่หญิงตั้งครรภ์เป็น
ในจังหวัดสตูลในปีงบประมาณ 2563 ได้มีมารดาที่ตั้งครรภ์เสียชีวิต 1 ราย และมารดาหลังคลอดได้เสียชีวิต จำนวน 2 ราย จำนวนเหล่านี้เกิดจากโรคที่สามารถเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนได้
ในเขตตำบลท่าแพ ในปีงบประมาณ 2563 พบหญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ที่คลินิกฝากครรภ์โรงพยาบาลท่าแพ ที่มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์จำนวน 25 ราย คิดเป็นร้อยละ 26.59 และต้องเฝ้าระวังเบาหวานที่ส่งไปฝากครรภ์ที่โรงพยาบาลสตูล 5 ราย โรคความดันขณะตั้งครรภ์ จำนวน 19 ราย คิดเป้นร้อยละ 20.21 ส่งไปฝากครรภ์ โรงพยาบาลสตูล 2 ราย มีประวัติการคลอดก่อนกำหนดในครรภ์ก่อน 4 ราย คิดเป้นร้อยละ 4.25 มีภาวะเสี่ยงทารกใรครรภ์น้อยกว่าเกณฑ์ 5 รายคิดเป็นร้อยละ 5.31และมีทารกเสี่ยชีวิตในครรภ์ 2 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.12
ดังนั้นบุคลากรสาธารณสุขรวมทั้งแกนนำ/อาสาสมัครสาธารณสุข จึงต้องมีความรู้ถึงภาวะเสี่ยงในหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด และให้คำแนะนำแก่หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด รวมถึงทารกในครรภ์ทารกหลังคลอดได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. หญิงตั้งครรภ์และผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงที่ถูกต้อง
- 2. เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่อาจเป็นอันตรายต่อมารดาและทารกในครรภ์
- 3. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงได้ถูกต้อง
- 4. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขและแกนำมีความรู้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้
- กิจกรรมออกติดตามเยี่ยม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
90
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- หยฺงตั้งครรภ์ คู่สมรสและหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่คาดว่าจะมีบุตรต่อไปมีความรู้ ทักษะและตระหนักถึงคงวามสำคัญของการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ได้ถูกต้อง สามารถนำความรู่ไปเผยแพร่ในชุมชนได้
- หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะผิดปกติต่างๆ ในขณะตั้งครรภ์อย่างครอลคลุม เพื่อต้นหาภาวะเสี่ยงต่างไ ในระยะแรกและได้รับการแก้ไข/ส่งต่ออย่างทันท่วงที
- หญิงตั้งครรภ์ทุกรายได้รับการดูแลจากแพทย์อย่างน้อย 2 ครั้งในครรภ์ปกติและสำหรับหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงจะได้รับการดูแลจากแพทย์เฉพาะทางตลอดการตั้งครรภ์
- หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงได้รับการเยี่ยมติดตามอย่างต่อเนื่องจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและอสม. ตลอดจนแกนนำสุขภาพและผู้นำชุมชนในพื้นที่อย่างใกล้ชิด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
รายงานสรุปผลการดำเนินโครงการ การเฝ้าระวังการตั้งครรภ์ภาวะเสี่ยงสูงในหญิงตั้งครรภ์ ที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ตำบลท่าแพขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2564
1. รายละเอียดองค์กร/หน่วยงานของรัฐ
ประเภทขององค์กร : หน่วยงานของรัฐ
ชื่อองค์กร : โรงพยาบาลท่าแพ
ชื่อหัวหน้าหน่วยงาน : นายแพทย์พันธ์เชษฐ์ บุญช่วย
ตำแหน่ง : ผู้อำนวยการโรงพยาบาลท่าแพ (นายแพทย์เชี่ยวชาญ)
ทีตั้ง : กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิองค์รวม โรงพยาบาลท่าแพ 155 หมู่ที่ 2 ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
2. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ : การเฝเาระวังการตั้งครรภ์ภาวะเสี่ยงสูงในหญิงตั้งครรภ์
จำนวนเงินที่ได้รับการสนับสนุน : 20,832.- บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ : นางปริญญา หมันนาเกลือ
3. กลุ่มเป้าหมาย
1. สมาชิกอาสาสมัครสาธารณสุขและแกนนำชุมชน
2. หญิงตั้งครรรภ์ สามีและญาติ หญิงวัยเจริญพันธุ์
4. ระยะเวลาดำเนินโครงการ
1 กุมภาพันธ์ - 30 กันยายน 2564
5. สถานที่ในการจัดประชุม : ณ ศาลาเอนกประสงค์ บ้านดาหลำ หมู่ที่ 8 อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
6. ผลการดำเนินงานและผลลัพธ์
6.1 กิจกรรมที่ยังไม่ดเนินการ
6.2 การประเมินผลความสำเร็จของโครงการ
6.2.1 หญิงตั้งครรภ์ คู้สมรสใหม่ และหญิงวัยเจริญพันธุ์ รวมถึง อสม. เข้าร่วมโครงการทั้งหมด 100 คน
6.2.2 หญิงตั้งครรภ์ คู่สมรสใหมา และหยิงวัยเจริญพันธุ์รวมถึง อสม. จากการทำแบบทดสอบก่อนการอบรม กลุ่มเป้าหมายผ่านเกณฑ์จำนวน 86 ราย คิดเป็นร้อยละ 86 และหลังการอบรมกลุ่มเป้าหมายผ่านเกณฑ์จำนวน 96 ราย คิดเป็นร้อยละ 96
6.2.3 หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงได้รับการเยี่ยมติดตามอย่างต่อเนื่องจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและ อสม. ตลอดจนแกนนำสุขภาพและผู้นำชุมชนในพื้นที่อย่างใกล้ชิด ร้อยละ 100
7. ข้อเสนอแนะในการจัดโครงการครั้งต่อไป ปัญหาและอุปสรรคและนวทางแก้ไข
7.1 ปัญหาการตั้งครรภ์ที่มีภาวะความเสี่ยงสูงในหญิงตั้งครรภ์ยังเป็นปัญหาสำคัญในงานอนามัยแม่และเด็กเห็นสมควรให้มีโครงการในการแก้ปัญหาดังกล่าวต่อไปอย่างต่อเนื่อง
7.2 ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะการตั้งครรภ์เสี่ยงสูงเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยให้กลุ่มเป้าหมายสามารถดูแลตนเองเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้มีโอกาสพบปะแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน เห็นควรให้การสนับสนุนงบประมาณต่อไปอย่างต่อเนื่อง
7.3 การให้บริการทีมีคุณภาพในคลินิคฝากครรภ์เป็นสิ่งสำคัญทุกช่วยอายุครรภ์ต้องได้รับวินิจฉัยอย่างถูกต้องแม่นยำ หญิงตั้งครรภ์ที่มีปัญหาได้รับการแก้ไขอย่างมีมาตราฐานและทันท่วงที ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัยทุกราย
8. ข้อเสนอแนะขององค์กร
อยากให้มีการสนับสนุนและเพิ่มเงินอุดหนุนในการดำเนินโครงการตามความเหมาะสมในโอกาสต่อไป เพื่อให้เกิดการทำงานแบบบูรณาการร่วมกันของภาคีเครือข่ายเพิ่มมากขึ้น และเข้าถึงการจัดการสุขภาพอย่างต่อเนื่องและเกิดประสิทธิภาพอย่างยั้งยืน และต้องขอขอบคุณผู้สนับสนุนงบประมาณ มา ณ ที่นี้ด้วย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. หญิงตั้งครรภ์และผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงที่ถูกต้อง ร้อยละ 85
85.00
96.00
2
2. เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่อาจเป็นอันตรายต่อมารดาและทารกในครรภ์
ตัวชี้วัด : หญิงตังครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงได้รับการดูแลจากแพทย์อย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 80
80.00
100.00
3
3. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงได้ถูกต้อง ร้อยละ 85
85.00
96.00
4
4. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขและแกนำมีความรู้
ตัวชี้วัด : อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้และแกนนำมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 80
80.00
96.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
90
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
90
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. หญิงตั้งครรภ์และผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงที่ถูกต้อง (2) 2. เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่อาจเป็นอันตรายต่อมารดาและทารกในครรภ์ (3) 3. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงได้ถูกต้อง (4) 4. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขและแกนำมีความรู้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมออกติดตามเยี่ยม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเฝ้าระวังการตั้งครรภ์ภาวะเสี่ยงสูงในหญิงตั้งครรภ์ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 64 - L 5287 - 1 19
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางปริญา หมันนาเกลือ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังการตั้งครรภ์ภาวะเสี่ยงสูงในหญิงตั้งครรภ์ ”
ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางปริญา หมันนาเกลือ
กันยายน 2564
ที่อยู่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 64 - L 5287 - 1 19 เลขที่ข้อตกลง 15/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 15 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังการตั้งครรภ์ภาวะเสี่ยงสูงในหญิงตั้งครรภ์ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังการตั้งครรภ์ภาวะเสี่ยงสูงในหญิงตั้งครรภ์
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังการตั้งครรภ์ภาวะเสี่ยงสูงในหญิงตั้งครรภ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 64 - L 5287 - 1 19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 15 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,832.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ภาวะครรภ์เสี่ยง หมายถึง การตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงซึ่งส่งผลกระทบต่อแม่และทารกในครรภ์ โดยอาจทำให้เกิดอันตรายหรือเสียชีวิตได้ทั้งในขณะตั้งครรภ์ คลอด หรือหลังคลอด ภาวะเสี่ยงสามารถเกิดได้จากหลายปัจจัย เช่น โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ ความดันโลหิตสูงขระตั้งครรภ์ มีประวัติครรถ์เป็นพิษ มีประวัติทารกคลอดก่อนคือคลอดก่อนอายุครรภ์ 37 สัปดาห์ มีประวัติเคยแท้งบุตรมาแล้วไม่ต่ำกว่า 2 ครั้งติดต่อกัน มีประวัติเคยคลอดบุตรนำ้หนักครรภ็น้อยกว่า 2,500 กรัม หรือมากกว่า 4,000 กรัม หรือโรคทางพันธุกรรมต่างๆ เช่น โลหิตจาง ต่อมไทรอยด์เป็นพิษภาวะภูมิคุ้มกันไวเกิน (SLE) โรคทาลัสซีเมีย โรคติดเชื้อ HIV (โรคเอดส์) การมโรค หรือพาหะตับอักเสบหากสตรีที่วางแผนตั้งครรภ์หรือหญิงตั้งครรภ์ที่มีปัจจัยเสี่ยงดังกล่าวข้างต้นนี้ ควรเข้ารับคำปรึกษาและได้รับการดูแลในดรงพยาบาลที่มีความพร้อมทั้งทางด้านอุปกรณ์และบุคลากรทางการแพทย์ที่มีประสบการณ์และความเชี่ยวชาญสูง เพื่อให้การดูแลรักษาเหมาะสมถูกต้อง และปลอดภัย การดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงความสำคัญอย่างมากต่อความปลอดภัยของลูกน้อยและต่อมารดา การใส่ใจในสุขสุขภาพจะช่วยหญิงตั้งครรภ์และทารกที่มีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง อย่างไรก็ดีวิธีการดูแลตนเองอาจแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับภาวะเสี่ยงที่หญิงตั้งครรภ์เป็น ในจังหวัดสตูลในปีงบประมาณ 2563 ได้มีมารดาที่ตั้งครรภ์เสียชีวิต 1 ราย และมารดาหลังคลอดได้เสียชีวิต จำนวน 2 ราย จำนวนเหล่านี้เกิดจากโรคที่สามารถเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนได้ ในเขตตำบลท่าแพ ในปีงบประมาณ 2563 พบหญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ที่คลินิกฝากครรภ์โรงพยาบาลท่าแพ ที่มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์จำนวน 25 ราย คิดเป็นร้อยละ 26.59 และต้องเฝ้าระวังเบาหวานที่ส่งไปฝากครรภ์ที่โรงพยาบาลสตูล 5 ราย โรคความดันขณะตั้งครรภ์ จำนวน 19 ราย คิดเป้นร้อยละ 20.21 ส่งไปฝากครรภ์ โรงพยาบาลสตูล 2 ราย มีประวัติการคลอดก่อนกำหนดในครรภ์ก่อน 4 ราย คิดเป้นร้อยละ 4.25 มีภาวะเสี่ยงทารกใรครรภ์น้อยกว่าเกณฑ์ 5 รายคิดเป็นร้อยละ 5.31และมีทารกเสี่ยชีวิตในครรภ์ 2 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.12 ดังนั้นบุคลากรสาธารณสุขรวมทั้งแกนนำ/อาสาสมัครสาธารณสุข จึงต้องมีความรู้ถึงภาวะเสี่ยงในหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด และให้คำแนะนำแก่หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด รวมถึงทารกในครรภ์ทารกหลังคลอดได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. หญิงตั้งครรภ์และผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงที่ถูกต้อง
- 2. เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่อาจเป็นอันตรายต่อมารดาและทารกในครรภ์
- 3. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงได้ถูกต้อง
- 4. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขและแกนำมีความรู้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้
- กิจกรรมออกติดตามเยี่ยม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 90 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- หยฺงตั้งครรภ์ คู่สมรสและหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่คาดว่าจะมีบุตรต่อไปมีความรู้ ทักษะและตระหนักถึงคงวามสำคัญของการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ได้ถูกต้อง สามารถนำความรู่ไปเผยแพร่ในชุมชนได้
- หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะผิดปกติต่างๆ ในขณะตั้งครรภ์อย่างครอลคลุม เพื่อต้นหาภาวะเสี่ยงต่างไ ในระยะแรกและได้รับการแก้ไข/ส่งต่ออย่างทันท่วงที
- หญิงตั้งครรภ์ทุกรายได้รับการดูแลจากแพทย์อย่างน้อย 2 ครั้งในครรภ์ปกติและสำหรับหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงจะได้รับการดูแลจากแพทย์เฉพาะทางตลอดการตั้งครรภ์
- หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงได้รับการเยี่ยมติดตามอย่างต่อเนื่องจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและอสม. ตลอดจนแกนนำสุขภาพและผู้นำชุมชนในพื้นที่อย่างใกล้ชิด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
รายงานสรุปผลการดำเนินโครงการ การเฝ้าระวังการตั้งครรภ์ภาวะเสี่ยงสูงในหญิงตั้งครรภ์ ที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ตำบลท่าแพขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2564
1. รายละเอียดองค์กร/หน่วยงานของรัฐ
ประเภทขององค์กร : หน่วยงานของรัฐ
ชื่อองค์กร : โรงพยาบาลท่าแพ
ชื่อหัวหน้าหน่วยงาน : นายแพทย์พันธ์เชษฐ์ บุญช่วย
ตำแหน่ง : ผู้อำนวยการโรงพยาบาลท่าแพ (นายแพทย์เชี่ยวชาญ)
ทีตั้ง : กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิองค์รวม โรงพยาบาลท่าแพ 155 หมู่ที่ 2 ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
2. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ : การเฝเาระวังการตั้งครรภ์ภาวะเสี่ยงสูงในหญิงตั้งครรภ์
จำนวนเงินที่ได้รับการสนับสนุน : 20,832.- บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ : นางปริญญา หมันนาเกลือ
3. กลุ่มเป้าหมาย
1. สมาชิกอาสาสมัครสาธารณสุขและแกนนำชุมชน
2. หญิงตั้งครรรภ์ สามีและญาติ หญิงวัยเจริญพันธุ์
4. ระยะเวลาดำเนินโครงการ
1 กุมภาพันธ์ - 30 กันยายน 2564
5. สถานที่ในการจัดประชุม : ณ ศาลาเอนกประสงค์ บ้านดาหลำ หมู่ที่ 8 อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
6. ผลการดำเนินงานและผลลัพธ์
6.1 กิจกรรมที่ยังไม่ดเนินการ
6.2 การประเมินผลความสำเร็จของโครงการ
6.2.1 หญิงตั้งครรภ์ คู้สมรสใหม่ และหญิงวัยเจริญพันธุ์ รวมถึง อสม. เข้าร่วมโครงการทั้งหมด 100 คน
6.2.2 หญิงตั้งครรภ์ คู่สมรสใหมา และหยิงวัยเจริญพันธุ์รวมถึง อสม. จากการทำแบบทดสอบก่อนการอบรม กลุ่มเป้าหมายผ่านเกณฑ์จำนวน 86 ราย คิดเป็นร้อยละ 86 และหลังการอบรมกลุ่มเป้าหมายผ่านเกณฑ์จำนวน 96 ราย คิดเป็นร้อยละ 96
6.2.3 หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงได้รับการเยี่ยมติดตามอย่างต่อเนื่องจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและ อสม. ตลอดจนแกนนำสุขภาพและผู้นำชุมชนในพื้นที่อย่างใกล้ชิด ร้อยละ 100
7. ข้อเสนอแนะในการจัดโครงการครั้งต่อไป ปัญหาและอุปสรรคและนวทางแก้ไข
7.1 ปัญหาการตั้งครรภ์ที่มีภาวะความเสี่ยงสูงในหญิงตั้งครรภ์ยังเป็นปัญหาสำคัญในงานอนามัยแม่และเด็กเห็นสมควรให้มีโครงการในการแก้ปัญหาดังกล่าวต่อไปอย่างต่อเนื่อง
7.2 ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะการตั้งครรภ์เสี่ยงสูงเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยให้กลุ่มเป้าหมายสามารถดูแลตนเองเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้มีโอกาสพบปะแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน เห็นควรให้การสนับสนุนงบประมาณต่อไปอย่างต่อเนื่อง
7.3 การให้บริการทีมีคุณภาพในคลินิคฝากครรภ์เป็นสิ่งสำคัญทุกช่วยอายุครรภ์ต้องได้รับวินิจฉัยอย่างถูกต้องแม่นยำ หญิงตั้งครรภ์ที่มีปัญหาได้รับการแก้ไขอย่างมีมาตราฐานและทันท่วงที ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัยทุกราย
8. ข้อเสนอแนะขององค์กร
อยากให้มีการสนับสนุนและเพิ่มเงินอุดหนุนในการดำเนินโครงการตามความเหมาะสมในโอกาสต่อไป เพื่อให้เกิดการทำงานแบบบูรณาการร่วมกันของภาคีเครือข่ายเพิ่มมากขึ้น และเข้าถึงการจัดการสุขภาพอย่างต่อเนื่องและเกิดประสิทธิภาพอย่างยั้งยืน และต้องขอขอบคุณผู้สนับสนุนงบประมาณ มา ณ ที่นี้ด้วย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. หญิงตั้งครรภ์และผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงที่ถูกต้อง ร้อยละ 85 |
85.00 | 96.00 |
|
|
2 | 2. เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่อาจเป็นอันตรายต่อมารดาและทารกในครรภ์ ตัวชี้วัด : หญิงตังครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงได้รับการดูแลจากแพทย์อย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 80 |
80.00 | 100.00 |
|
|
3 | 3. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงได้ถูกต้อง ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงได้ถูกต้อง ร้อยละ 85 |
85.00 | 96.00 |
|
|
4 | 4. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขและแกนำมีความรู้ ตัวชี้วัด : อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้และแกนนำมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 80 |
80.00 | 96.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 90 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 90 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. หญิงตั้งครรภ์และผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงที่ถูกต้อง (2) 2. เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่อาจเป็นอันตรายต่อมารดาและทารกในครรภ์ (3) 3. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงได้ถูกต้อง (4) 4. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขและแกนำมีความรู้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมออกติดตามเยี่ยม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเฝ้าระวังการตั้งครรภ์ภาวะเสี่ยงสูงในหญิงตั้งครรภ์ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 64 - L 5287 - 1 19
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางปริญา หมันนาเกลือ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......