โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค ปี 2564
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค ปี 2564 ”
ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสุณี ศรียาน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ
กันยายน 2564
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค ปี 2564
ที่อยู่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 64 - L 5287 - 1 - 20 เลขที่ข้อตกลง 16/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 15 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค ปี 2564 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค ปี 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 64 - L 5287 - 1 - 20 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 15 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 41,212.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาโรคไม่ติดต่อเช่นโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งบางโรคเป็นสาเหตุการตายอันดับต้นและมีแนวโน้มการเกิดโรคเพิ่มและมีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นทุกปี ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่มาจากสุขภาพที่ไม่ถูกต้องของประชาชน เช่น การสูบบุหรี่ การบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสันส่วนและไม่เหมาะสมทางโภชนาการ ขาดการออกกำลังกายและมีความเครียดจากครอบครัวและสังคม จากการศึกษาแนวปฏิบัติการบริการป้องกันควบคุมโรคและความดันโลหิตสูงพบว่าปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรคที่เป้นปัจจัยเสี่ยงหลัก ได้แก่ ภาวะความดันโลหิตสูง การสูบบุหรี่ ปัจจัยรอง ได้แก่ ภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน ขาดการเคลื่อนไหว การออกำลังกาย การบริโภคอาหารที่ไม่สมดุล การบริโภคอาหารที่เค็มจัด หวานจัด รวมทั้งรับประทานผักและผลไม้ที่ไม่เพียงพอ รวมทั้งประชาชนมีความรู้ที่ไม่ถูกต้องและไม่ตระหนักถึงความรุนแรงของโรคที่ไม่ติดต่อเหล่านั้น ด้านการให้การบริการเชิงรุกของโรงพยาบาลท่าแพ ได้จัดทำโครงการคัดกรองเบาหวานความดันซึ่งผลการดำเนินงานแม้ว่าทำให้ผลงานการค้นหาทำได้ครอบคลุมเพิ่มมากขึ้นและสามารถคัดกรองได้เพิ่มขึ้นปีงบประมาณ 2563 นี้ พบว่า กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น จากข้อมูลพบกลุ่มเสีายงเบาหวาน จำนวน 213 ราย และเสี่ยงสูง 26 ราย ที่ต้องเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง ส่วนกลุ่มป่วยเบาหวานรายใหม่ 6 ราย และพบกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง จำนวน 100 ราย และเสี่ยงสูง 61 ราย พบป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ 3 ราย จากการคัดกรองทั้งหมด แต่ก็ยังไม่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตได้ครอบคลุมเป้าหมายทั้งหมด เนื่องจากประชาชนบางส่วนยังไม่มีความตระหนัก ดังนั้นเพื่อป้องกันควบคุมและป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตที่มีแนวโน้มเพิ่มมากขิ้นและเพื่อพัฒนาศักยภาพของประชาชนให้เกิดความตระหนักในการสร้างภูมคุ้มกัน เฝ้าระวัง และดูแลตนเองให้มีพฟติกรรมลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง กลุ่มงานบนิการปบมภูมิและองค์รวมโรงพยาบาลท่าแพ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อผลักดันให้ประชาชนที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยมีการเข้าคลินิค DPAC และส่งเสริมให้มีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในเรื่อง 3 อ 2 ส .และสามารถดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสม ลดปัจจัยเสี่ยงและอัตราเกิดโรคที่ไม่ติดต่อเรื้อรัง มีสุขภาพดีได้อย่างยั่งยืน นอกจากนี้ผู้ป่วยโรคเรื้องรังก็จะได้รับการดูแลตามมาตราฐานเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่อไป
ดังนั้น กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลท่าแพ ได้เล้งเห็นความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน ผู้ป่วยเรื้องรัง เพื่อไม่ให้เป็นผู้ป่วยรายใหม่ และผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อนของโรคเดิม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องมีแนวปฏิบัติในการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมองและโรคหลอดเลือดหัวใจ
- 2. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมบริโภค ที่เหมาะสมในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและภาวะแทรกซ้อนได้
- 3. เพื่อสร้างเครือข่ายกลุ่มเสี่ยงป้องกันโรคความดันโลหิตสูง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้
- กิจกรรมประชาสัมพันธ์ให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องและมีแนวทางปฏิบัติในการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมองและโรคหลอดเลือดหัวใจ
- ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมบริโภค ที่เหมาะสมในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูง และภาวะแทรกซ้อนได้อย่างยั่งยืน
- ผู้ป้วยที่มีอาการด้วยโรคหลอดเลือดสมองและโรคหลอดเลือดหัวใจ สามารถมารับบริการในโรงพยาบาลได้ทันท่วงที เกิดเครือข่ายกลุ่มเสี่ยงโรคความดันดลหิตสูงและภาวะแทรกซ้อน ของโรงพยาบาลท่าแพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
หลังจากให้ความรู้เรื่องการเฝ้าระวังโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และอัมพฤกษ์ อัมพาต, ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ.2ส ให้ความรู้เรื่องการออกกำลังกาย และเรื่องข้อเข่าสเสื่อม ใน อสม. พบว่าผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และความเข้าใจในการดูแลตนเองและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินมากขึ้น และสามารถนำความรู้ไปใช้กับประชาชนในเขตรับผิดชอบของตนเองได้และลดการเจ็บป่วยที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อนจากโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง
1. ระยะกิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้และออกประชาสัมพันธ์โครงการฯ
เดือน เมษายน - มิถุนายน 2565
1.1 จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม
จากการจัดโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคฯ ประจำปีงบประมาณ 2565 มีจำนวนผู้เข้าร่วมอบรมโครงการ จำนวน 500 คน
ผลที่ได้จากโครงการ
1. การจัดอบรมให้ความรู้เรื่องโรคและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ออกประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ 3 อ. 2ส.
จากการจัดโครงการในครั้งนี้ ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ์เรียนรู้และให้ความรู้เรื่องการเกิดและพยาธิสภาพของโรคความดันโลหิตสูง , โรคเบาหวาน , การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดโรค ตามหลัก 3อ.2ส. ให้แก่กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมองหลอดเลือดและหัวใจ ซึ่งจะทำให้กลุ่มเป้าหมาย ได้มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกวิธี ต่อเนื่องซึ่งจะทำให้สามารถลดภาวะแทรกซ้อน การเกิดโรคและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อนำไปใช้ในการดูแลป้องกัน ลดปัจจัยเสี่ยง ลดความพิการและเสียชีวิตจากโรคและการกลับมาเป็นซ้ำ
ผลที่เกิดขึ้นภายหลังโครงการสิ้นสุดลง
ทำให้กลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้ และมีทักษะในการดูแลสุขภาพของประชาชน ในกลุ่มอายุ 35 ปี ขึ้นไปในการทำงานบูรณาการร่วมกันทุกเครือข่ายด้านสุขภาพ เป็นโครงการที่ดำเนินการ โดยมุ่งเน้นการค้นหาเพื่อไม่ให้เกิดผุ้ป่วยรายใหม่ และมรการส่วตัวที่ถูกต้องเพื่อการรักษาและได้รับการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้อง และกลุ่มเสี่ยงที่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค ห่างไกลจากโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงอย่างสม่ำเสมอทั้งสับสนุนเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้เร็วขึ่น โดยการทำงานแบบเชิงรุก โดยทำงานร่วมกันของคนในชุมชน ส่งผลให้สุขถาวะ คุณภาพชีวิตดีขึ้นสามารถลดภาวะความพิการลงได้ ก่อให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีของสังคม และเห็นสมควรให้มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
ปัญหาอุปสรรค
ปัญาอุปสรรคในการทำงานขององค์กร
- ไม่มีปัญหา เนื่องจากได้รับความร่วมมือที่ดีมาก ระหว่างองค์กร ทำให้การทำงานราบรื่น
ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการ
กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้แก่ประชากรกลุ่มเสี่ยงในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคฯ
- สถานที่ในการจัดอบรมคับแคบสำหรับบางหมู่บ้าน
- ความพร้อมของเครื่องเสียงยังไม่ได้มาตารฐาน
- กลุ่มเสี่ยงโรคบางท่านติดภารกิจที่ไม่สามารถเข้าร่วมโครงการได้
- สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา โควิด-19
ข้อเสนอแนะขององค์กร
อยากให้มีการสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง ชี้แนะประเด็นปัญหาของชุมชน กระทั่งเพิ่มเงิรอุดหนุนในการดำเนินโครงการในโอกาสต่อไป เพื่อให้เกิดการบูรณาการร่วมกันขององค์กรต่างๆ เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชน จากโครงการครั้งนี้ได้สะท้อนให้เห็นถึงความร่วมมือร่วมใจของอาสาสมัครสาธารณสุขและประชากรกลุ่มเสี่ยงโรค ที่จะนำความรู้ ความสามารถในกิจกรรมครั้งนี้ไปถ่ายทอดให้ชุมชนมีความรุ้ ความเข้าใจของโรคต่างๆ จะทำให้ลดการเกิดภาวพแทรกซ้อนจากโรคได้ อาทิ เช่น ความรู้ หลักการใช้ 3อ.2ส.ความเห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกัน ทัศนะคติในการดำรงชีวิต และการดำเนินกิจกรรมทั้งหมดที่กล่าวมาคงสำเร็จไม่ได้ หาดขาดกำลังคนที่มีความเข้สมแข็ง หน่วยงานที่มีความเข้าใจ ที่ให้ความร่วมมือตั้งแต่เริ่มปฏิบัติงานจนกระทั่งเสร็จสิ้นภารกิจ จึงขอขอบพระคุณทุกท่านที่สละ แรงกาย แรงใจ ในการอุทิศตนเพื่อสังคมโดยตลอดมา จักขอบพระคุณเป็นอย่างยิ่ง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องมีแนวปฏิบัติในการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมองและโรคหลอดเลือดหัวใจ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ประชากรกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปี ขึ้นไป มีความรู้เพื่อส่งเสริมและป้องกันตนเองโรคความดันโลหิตสูง ด้วย 3 อ. 2 ส. โรคหลอดเลือดสมองและโรคหลอดเลือดหัวใจ
80.00
93.00
2
2. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมบริโภค ที่เหมาะสมในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและภาวะแทรกซ้อนได้
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 50 มีพฤติกรรมบริโภคที่เหมาะสมในการป้องกันโรคและไม่เกิดเป็นผู้ป่วยรายใหม่
50.00
72.00
3
3. เพื่อสร้างเครือข่ายกลุ่มเสี่ยงป้องกันโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 เกิดเครือข่ายกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง
80.00
86.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
500
500
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
500
500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องมีแนวปฏิบัติในการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมองและโรคหลอดเลือดหัวใจ (2) 2. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมบริโภค ที่เหมาะสมในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและภาวะแทรกซ้อนได้ (3) 3. เพื่อสร้างเครือข่ายกลุ่มเสี่ยงป้องกันโรคความดันโลหิตสูง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค ปี 2564 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 64 - L 5287 - 1 - 20
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสุณี ศรียาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค ปี 2564 ”
ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสุณี ศรียาน
กันยายน 2564
ที่อยู่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 64 - L 5287 - 1 - 20 เลขที่ข้อตกลง 16/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 15 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค ปี 2564 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค ปี 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 64 - L 5287 - 1 - 20 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 15 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 41,212.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาโรคไม่ติดต่อเช่นโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งบางโรคเป็นสาเหตุการตายอันดับต้นและมีแนวโน้มการเกิดโรคเพิ่มและมีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นทุกปี ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่มาจากสุขภาพที่ไม่ถูกต้องของประชาชน เช่น การสูบบุหรี่ การบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสันส่วนและไม่เหมาะสมทางโภชนาการ ขาดการออกกำลังกายและมีความเครียดจากครอบครัวและสังคม จากการศึกษาแนวปฏิบัติการบริการป้องกันควบคุมโรคและความดันโลหิตสูงพบว่าปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรคที่เป้นปัจจัยเสี่ยงหลัก ได้แก่ ภาวะความดันโลหิตสูง การสูบบุหรี่ ปัจจัยรอง ได้แก่ ภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน ขาดการเคลื่อนไหว การออกำลังกาย การบริโภคอาหารที่ไม่สมดุล การบริโภคอาหารที่เค็มจัด หวานจัด รวมทั้งรับประทานผักและผลไม้ที่ไม่เพียงพอ รวมทั้งประชาชนมีความรู้ที่ไม่ถูกต้องและไม่ตระหนักถึงความรุนแรงของโรคที่ไม่ติดต่อเหล่านั้น ด้านการให้การบริการเชิงรุกของโรงพยาบาลท่าแพ ได้จัดทำโครงการคัดกรองเบาหวานความดันซึ่งผลการดำเนินงานแม้ว่าทำให้ผลงานการค้นหาทำได้ครอบคลุมเพิ่มมากขึ้นและสามารถคัดกรองได้เพิ่มขึ้นปีงบประมาณ 2563 นี้ พบว่า กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น จากข้อมูลพบกลุ่มเสีายงเบาหวาน จำนวน 213 ราย และเสี่ยงสูง 26 ราย ที่ต้องเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง ส่วนกลุ่มป่วยเบาหวานรายใหม่ 6 ราย และพบกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง จำนวน 100 ราย และเสี่ยงสูง 61 ราย พบป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ 3 ราย จากการคัดกรองทั้งหมด แต่ก็ยังไม่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตได้ครอบคลุมเป้าหมายทั้งหมด เนื่องจากประชาชนบางส่วนยังไม่มีความตระหนัก ดังนั้นเพื่อป้องกันควบคุมและป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตที่มีแนวโน้มเพิ่มมากขิ้นและเพื่อพัฒนาศักยภาพของประชาชนให้เกิดความตระหนักในการสร้างภูมคุ้มกัน เฝ้าระวัง และดูแลตนเองให้มีพฟติกรรมลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง กลุ่มงานบนิการปบมภูมิและองค์รวมโรงพยาบาลท่าแพ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อผลักดันให้ประชาชนที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยมีการเข้าคลินิค DPAC และส่งเสริมให้มีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในเรื่อง 3 อ 2 ส .และสามารถดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสม ลดปัจจัยเสี่ยงและอัตราเกิดโรคที่ไม่ติดต่อเรื้อรัง มีสุขภาพดีได้อย่างยั่งยืน นอกจากนี้ผู้ป่วยโรคเรื้องรังก็จะได้รับการดูแลตามมาตราฐานเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่อไป ดังนั้น กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลท่าแพ ได้เล้งเห็นความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน ผู้ป่วยเรื้องรัง เพื่อไม่ให้เป็นผู้ป่วยรายใหม่ และผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อนของโรคเดิม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องมีแนวปฏิบัติในการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมองและโรคหลอดเลือดหัวใจ
- 2. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมบริโภค ที่เหมาะสมในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและภาวะแทรกซ้อนได้
- 3. เพื่อสร้างเครือข่ายกลุ่มเสี่ยงป้องกันโรคความดันโลหิตสูง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้
- กิจกรรมประชาสัมพันธ์ให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 500 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องและมีแนวทางปฏิบัติในการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมองและโรคหลอดเลือดหัวใจ
- ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมบริโภค ที่เหมาะสมในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูง และภาวะแทรกซ้อนได้อย่างยั่งยืน
- ผู้ป้วยที่มีอาการด้วยโรคหลอดเลือดสมองและโรคหลอดเลือดหัวใจ สามารถมารับบริการในโรงพยาบาลได้ทันท่วงที เกิดเครือข่ายกลุ่มเสี่ยงโรคความดันดลหิตสูงและภาวะแทรกซ้อน ของโรงพยาบาลท่าแพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
หลังจากให้ความรู้เรื่องการเฝ้าระวังโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และอัมพฤกษ์ อัมพาต, ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ.2ส ให้ความรู้เรื่องการออกกำลังกาย และเรื่องข้อเข่าสเสื่อม ใน อสม. พบว่าผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และความเข้าใจในการดูแลตนเองและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินมากขึ้น และสามารถนำความรู้ไปใช้กับประชาชนในเขตรับผิดชอบของตนเองได้และลดการเจ็บป่วยที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อนจากโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง
1. ระยะกิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้และออกประชาสัมพันธ์โครงการฯ
เดือน เมษายน - มิถุนายน 2565
1.1 จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม
จากการจัดโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคฯ ประจำปีงบประมาณ 2565 มีจำนวนผู้เข้าร่วมอบรมโครงการ จำนวน 500 คน
ผลที่ได้จากโครงการ
1. การจัดอบรมให้ความรู้เรื่องโรคและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ออกประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ 3 อ. 2ส.
จากการจัดโครงการในครั้งนี้ ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ์เรียนรู้และให้ความรู้เรื่องการเกิดและพยาธิสภาพของโรคความดันโลหิตสูง , โรคเบาหวาน , การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดโรค ตามหลัก 3อ.2ส. ให้แก่กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมองหลอดเลือดและหัวใจ ซึ่งจะทำให้กลุ่มเป้าหมาย ได้มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกวิธี ต่อเนื่องซึ่งจะทำให้สามารถลดภาวะแทรกซ้อน การเกิดโรคและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อนำไปใช้ในการดูแลป้องกัน ลดปัจจัยเสี่ยง ลดความพิการและเสียชีวิตจากโรคและการกลับมาเป็นซ้ำ
ผลที่เกิดขึ้นภายหลังโครงการสิ้นสุดลง
ทำให้กลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้ และมีทักษะในการดูแลสุขภาพของประชาชน ในกลุ่มอายุ 35 ปี ขึ้นไปในการทำงานบูรณาการร่วมกันทุกเครือข่ายด้านสุขภาพ เป็นโครงการที่ดำเนินการ โดยมุ่งเน้นการค้นหาเพื่อไม่ให้เกิดผุ้ป่วยรายใหม่ และมรการส่วตัวที่ถูกต้องเพื่อการรักษาและได้รับการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้อง และกลุ่มเสี่ยงที่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค ห่างไกลจากโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงอย่างสม่ำเสมอทั้งสับสนุนเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้เร็วขึ่น โดยการทำงานแบบเชิงรุก โดยทำงานร่วมกันของคนในชุมชน ส่งผลให้สุขถาวะ คุณภาพชีวิตดีขึ้นสามารถลดภาวะความพิการลงได้ ก่อให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีของสังคม และเห็นสมควรให้มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
ปัญหาอุปสรรค
ปัญาอุปสรรคในการทำงานขององค์กร
- ไม่มีปัญหา เนื่องจากได้รับความร่วมมือที่ดีมาก ระหว่างองค์กร ทำให้การทำงานราบรื่น
ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการ
กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้แก่ประชากรกลุ่มเสี่ยงในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคฯ
- สถานที่ในการจัดอบรมคับแคบสำหรับบางหมู่บ้าน
- ความพร้อมของเครื่องเสียงยังไม่ได้มาตารฐาน
- กลุ่มเสี่ยงโรคบางท่านติดภารกิจที่ไม่สามารถเข้าร่วมโครงการได้
- สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา โควิด-19
ข้อเสนอแนะขององค์กร
อยากให้มีการสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง ชี้แนะประเด็นปัญหาของชุมชน กระทั่งเพิ่มเงิรอุดหนุนในการดำเนินโครงการในโอกาสต่อไป เพื่อให้เกิดการบูรณาการร่วมกันขององค์กรต่างๆ เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชน จากโครงการครั้งนี้ได้สะท้อนให้เห็นถึงความร่วมมือร่วมใจของอาสาสมัครสาธารณสุขและประชากรกลุ่มเสี่ยงโรค ที่จะนำความรู้ ความสามารถในกิจกรรมครั้งนี้ไปถ่ายทอดให้ชุมชนมีความรุ้ ความเข้าใจของโรคต่างๆ จะทำให้ลดการเกิดภาวพแทรกซ้อนจากโรคได้ อาทิ เช่น ความรู้ หลักการใช้ 3อ.2ส.ความเห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกัน ทัศนะคติในการดำรงชีวิต และการดำเนินกิจกรรมทั้งหมดที่กล่าวมาคงสำเร็จไม่ได้ หาดขาดกำลังคนที่มีความเข้สมแข็ง หน่วยงานที่มีความเข้าใจ ที่ให้ความร่วมมือตั้งแต่เริ่มปฏิบัติงานจนกระทั่งเสร็จสิ้นภารกิจ จึงขอขอบพระคุณทุกท่านที่สละ แรงกาย แรงใจ ในการอุทิศตนเพื่อสังคมโดยตลอดมา จักขอบพระคุณเป็นอย่างยิ่ง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องมีแนวปฏิบัติในการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมองและโรคหลอดเลือดหัวใจ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ประชากรกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปี ขึ้นไป มีความรู้เพื่อส่งเสริมและป้องกันตนเองโรคความดันโลหิตสูง ด้วย 3 อ. 2 ส. โรคหลอดเลือดสมองและโรคหลอดเลือดหัวใจ |
80.00 | 93.00 |
|
|
2 | 2. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมบริโภค ที่เหมาะสมในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและภาวะแทรกซ้อนได้ ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 50 มีพฤติกรรมบริโภคที่เหมาะสมในการป้องกันโรคและไม่เกิดเป็นผู้ป่วยรายใหม่ |
50.00 | 72.00 |
|
|
3 | 3. เพื่อสร้างเครือข่ายกลุ่มเสี่ยงป้องกันโรคความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 เกิดเครือข่ายกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง |
80.00 | 86.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 500 | 500 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 500 | 500 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องมีแนวปฏิบัติในการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมองและโรคหลอดเลือดหัวใจ (2) 2. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมบริโภค ที่เหมาะสมในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและภาวะแทรกซ้อนได้ (3) 3. เพื่อสร้างเครือข่ายกลุ่มเสี่ยงป้องกันโรคความดันโลหิตสูง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค ปี 2564 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 64 - L 5287 - 1 - 20
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสุณี ศรียาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......