กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง


“ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเด็กแรกเกิด - 5 ปี ปีงบประมาณ 2564 ”

ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายปวิตร วณิชชานนท์

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเด็กแรกเกิด - 5 ปี ปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2564 - L8010 – 1 - 2 เลขที่ข้อตกลง 05/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเด็กแรกเกิด - 5 ปี ปีงบประมาณ 2564 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเด็กแรกเกิด - 5 ปี ปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเด้กแรกเกิด - 5 ปี ปีงบประมาณ 2564 หน่วยงานที่รับผิดชอบ ศูนย์สุขภาพชุมชนกำแพง ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง จำนวน 57,025 บาท โดยมีวัตถุประสงค์โครงการ เพื่อส่งเสริมให้บิดา-มารดา หรือผู้ปกครอง มีความรู้ในการเลี้ยงดูบุตรหลานที่เหมาะสมตามวัย และพัฒนาการสมวัยทั้ง 4 ด้าน ให้เหมาะสมตามวัย ตัวชี้วัดความสำเร็จ (1) ร้อยละ 80 บิดา-มารดา หรือผู้ปกครอง/ผู้เข้าร่ววมกิจกรรม มีความรู้ในการเลี้ยงดูบุตรที่เหมาะสมตามวัย (2) ร้อยละ 85 เด็กปฐมวัยตั้งแต่แรกเกิด - 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ทั้ง 4 ด้าน ตามแบบประเมิน DSPM

กิจกรรมที่ดำเนินการ ดังนี้

  • กิจกรรมที่ 1 เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โดยอาสาสมัครสาธารณสุข และประชาสัมพันธ์เสียงตามสาย
  • กิจกรรมที่ 2 ดำเนินกิจกรรมให้ความรู้บิดา-มารดา หรือผู้ปกครองเด็กปฐมวัยตั้งแต่แรกเกิด-5 ปี
  • กิจกรรมที่ 3 ดำเนินกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และระดมสมอง
  • กิจกรรมที่ 4 ดำเนินกิจกรรมรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการที่สนใจ 20 คน เพื่อสร้างครอบครัวต้นแบบ
  • กิจกรรมที่ 5 รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ผลการดำเนินงาน

  1. มีการประชาสัมพันธ์โดยอาสาสมัครสาธารณสุขและประชาสัมพันธ์เสียงตามสายในชุมชน ทั้ง 12 หมู่บ้าน ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง ร้อยละ 100 โดยบิดา-มารดา หรือผู้ปกครองเด็กปฐมวัยตั้งแต่แรกเกิด - 5 ปี สมัครเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 100 คน

  2. บิดา - มารดา หรือผู้ปกครองเด็กปฐมวัยตั้งแต่แรกเกิด - 5 ปี ได้รับความรู้ เรื่องการดูแลสุขภาพอนามัย การได้รับวัคซีน ทันตสุขภาพ การเจริญเติบโต และภาวะโภชนาการ พัฒนาการตามกลุ่มวัย และการสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว

  3. ผู้เข้าร่วมโครงการเข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และระดมพลังสมอง ร้อยละ 100

  4. กิจกรรมสร้างครอบครัวต้นแบบ โดยมีผู้เข้าร่วมสนใจเข้าร่วมโครงการ 20 คน ร้อยละ 100 และผ่านการประเมิน DSPM 5 ด้าน และมีการมอบเกียรติบัตรเพื่อสร้างแรงจูงใจให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ทั้ง 20 คน

ซึ่งการดำเนินโครงการครั้งนี้ บิดา-มารดา หรือผู้ปกครอง / ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ใรความรู้ในการเลี้ยงดูบุตรที่เหมาะสมตามวัย โดยประเมินตามแบบประเมินความรู้ ผ่านร้อยละ 85 และเด็กปฐมวัยตั้งแต่แรกเกิด - 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ทั้ง 4 ด้าน โดยใช้แบบประเมิน DSPM ผ่านร้อยละ 76

ปัญหาอุปสรรค

  • เนื่องจากระยะเวลาการจัดทำโครงการมีสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) จึงทำให้การดำเนินโครงการต้องอยู่ภายใต้มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโน่า 2019 (COVID-19) จึงทำให้บางกิจกรรมมีข้อจำกัดที่ต้องปรับเปลี่ยนเพื่อความเหมาะสมกับสถานการณ์

  • บางกิจกรรมที่ต้องทำร่วมกับเด็กปฐมวัยต้องใช้ระยะเวลานานมากขึ้น เพื่อให้ได้ความร่วมมือจากเด็กปฐมวัย ทำให้กิจกรรมลล่าช้า

  • ผู้ปกครองในปัจจุบันต้องทำงานนอกบ้าน ไม่ค่อยมีเวลาในการส่งเสริมพัฒนาการลูก ส่วนใหญ่ลูกอยู่กับผู้สูงอายุ

ข้อเสนอแนะ

  • ปฏิบัติตามมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการปพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

  • ติดตามการกระตุ้นและการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยกับบิดา-มารดา หรือผู้ปกครอง อย่างสม่ำเสมอ เพื่อความต่อเนื่องและพัฒนาการที่สมวัย

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันการเลี้ยงดูเด็กให้เติบใหญ่เพื่อเป็นประชากรที่มีคุณภาพ และเป็นอนาคตที่ดีของประเทศ บิดา-มารดา หรือผู้ปกครอง จะต้องให้ความสำคัญเรื่องการเลี้ยงดูตั้งแต่แรกเกิด ตั้งแต่เรื่องสุขภาพอนามัย การอุปโภค บริโภค และพัฒนาการของเด็กปฐมวัย ซึ่งเป็นเรื่องที่น่าวิตกกังวลมากเนื่องจากส่งผลกระทบต่อร่างกายและจิตใจก่อให้เกิดโรคเรื้อรังชนิดต่างๆและภาพรวมแนวโน้มสงสัยพัฒนาการล่าช้าในทุกๆด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาเนื่องจากสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไป โดยที่ บิดา-มารดา หรือผู้ปกครองขาดความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย การดูแลรักษาสุขภาพอนามัยของตนเอง การอุปโภค บริโภค ดังนั้นจึงไม่คำนึงถึงผลกระทบ หรือความเสี่ยงที่ก่อให้เกิดผลต่อสุขภาพ ของเด็กในอนาคต ซึ่งศูนย์สุขภาพชุมชนกำแพง เป็นหน่วยบริการสาธารณสุขในพื้นที่ ที่มีบทบาทหน้าที่ในการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพและ การรักษาพยาบาลเชิงรุกที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต ซึ่งสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๖๖๔ ) ในส่วนที่ ๔ ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ ด้านพัฒนาศักยภาพคนให้มีทักษะความรู้และความสามารถในการดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า โดยการส่งเสริมให้เด็กปฐมวัย มีการพัฒนาทักษะสมองและทักษะทางสังคมที่เหมาะสม

จากการสำรวจพบว่าสาเหตุที่ทำให้เด็กพัฒนาการไม่สมวัยมาจากเด็กที่มีปัญหาสุขภาพต่างๆ เช่น เจ็บป่วยบ่อย น้ำหนักเกินหรือต่ำกว่าเกณฑ์ปกติได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานล่าช้ากว่าเกณฑ์ที่กำหนด คิดเป็นร้อยละ ๘๐ไม่ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการตามวัย สงสัยพัฒนาการล่าช้า ร้อยละ ๗๒.๘๐การเลี้ยงดูแบบสมัยใหม่โดยใช้โทรศัพท์ในการเลี้ยงดูลูก อาจส่งผลระยะยาวทำให้เกิดสมาธิสั้น อารมณ์ก้าวร้าว หงุดหงิดง่าย เอาแต่ใจตนเอง และจากการตรวจสุขภาพและคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัยในคลินิกส่งเสริมสุขภาพเด็กดีศูนย์สุขภาพชุมชนกำแพง ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง ระหว่างปี พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๖๓ ยังพบปัญหาพัฒนาการสงสัยล่าช้าน้อยกว่า ร้อยละ๘๕ คิดเป็นร้อยละ ๗๒.๘๐ จากเด็ก ๐ – ๕ ปี ทั้งหมด ๗๗๒ ราย

ดังนั้นศูนย์สุขภาพชุมชนกำแพง จึงเห็นความสำคัญต่อการพัฒนาเด็กปฐมวัย เพื่อให้เด็กแรกเกิด – ๕ ปี มีพัฒนาการที่สมวัยทั้ง๔ ด้าน ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ – จิตใจ ด้านสังคมและสติปัญญา โดยจัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อส่งเสริมให้บิดา-มารดา และผู้ดูแลเด็ก มีความรู้และทักษะการเลี้ยงดูเด็กที่ถูกต้อง ทั้ง ๔ ด้าน และมีสัมพันธภาพอันดีในครอบครัว เพื่อให้เด็กเติบใหญ่เป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพและเป็นกำลังหลักในการพัฒนาประเทศต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้บิดา-มารดา หรือผู้ปกครอง มีความรู้ในการเลี้ยงดูบุตรหลานที่เหมาะสมตามวัย
  2. เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัยทั้ง ๔ ด้าน ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ ด้านสังคม และด้านสติปัญญาให้เหมาะสมตามวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โดยอาสาสมัครสาธารณสุข และประชาสัมพันธ์เสียงตามสาย
  2. อบรมให้ความรู้บิดา-มารดา หรือผู้ปกครองเด็กปฐมวัยตั้งแต่แรกเกิด-5 ปี
  3. แลกเปลี่ยนเรียนรู้และระดมพลังสมอง
  4. รับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการที่สนใจ ๒๐ คน เพื่อสร้างครอบครัวต้นแบบ
  5. สรุปผลโครงการและการดำเนินกิจกรรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. บิดา – มารดาหรือผู้ปกครองเด็กปฐมวัยตั้งแต่แรกเกิด – ๕ ปี / ผู้สังเกตการณ์ มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย การดูแลรักษาสุขภาพอนามัย การอุปโภค บริโภค พัฒนาการของเด็กทั้งทางร่างกาย จิตใจ-อารมณ์ และสังคม ที่เหมาะสมตามวัย

๒. เด็กปฐมวัยแรกเกิด – ๕ ปี มีพัฒนาการที่สมวัยทั้ง ๔ ด้าน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลการดำเนินงาน

  1. มีการประชาสัมพันธ์โดยอาสาสมัครสาธารณสุขและประชาสัมพันธ์เสียงตามสายในชุมชน ทั้ง 12 หมู่บ้าน ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง ร้อยละ 100 โดยบิดา-มารดา หรือผู้ปกครองเด็กปฐมวัยตั้งแต่แรกเกิด - 5 ปี สมัครเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 100 คน

  2. บิดา - มารดา หรือผู้ปกครองเด็กปฐมวัยตั้งแต่แรกเกิด - 5 ปี ได้รับความรู้ เรื่องการดูแลสุขภาพอนามัย การได้รับวัคซีน ทันตสุขภาพ การเจริญเติบโต และภาวะโภชนาการ พัฒนาการตามกลุ่มวัย และการสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว

  3. ผู้เข้าร่วมโครงการเข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และระดมพลังสมอง ร้อยละ 100

  4. กิจกรรมสร้างครอบครัวต้นแบบ โดยมีผู้เข้าร่วมสนใจเข้าร่วมโครงการ 20 คน ร้อยละ 100 และผ่านการประเมิน DSPM 5 ด้าน และมีการมอบเกียรติบัตรเพื่อสร้างแรงจูงใจให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ทั้ง 20 คน

ซึ่งการดำเนินโครงการครั้งนี้ บิดา-มารดา หรือผู้ปกครอง / ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ใรความรู้ในการเลี้ยงดูบุตรที่เหมาะสมตามวัย โดยประเมินตามแบบประเมินความรู้ ผ่านร้อยละ 85 และเด็กปฐมวัยตั้งแต่แรกเกิด - 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ทั้ง 4 ด้าน โดยใช้แบบประเมิน DSPM ผ่านร้อยละ 76

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้บิดา-มารดา หรือผู้ปกครอง มีความรู้ในการเลี้ยงดูบุตรหลานที่เหมาะสมตามวัย
ตัวชี้วัด : บิดา-มารดา หรือผู้ปกครอง/ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ในการเลี้ยงดูบุตรที่เหมาะสมตามวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
80.00 85.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัยทั้ง ๔ ด้าน ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ ด้านสังคม และด้านสติปัญญาให้เหมาะสมตามวัย
ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัยตั้งแต่แรกเกิด – ๕ ปี มีพัฒนาการสมวัย ทั้ง ๔ ด้าน ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๕
85.00 76.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100 100
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเด้กแรกเกิด - 5 ปี ปีงบประมาณ 2564 หน่วยงานที่รับผิดชอบ ศูนย์สุขภาพชุมชนกำแพง ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง จำนวน 57,025 บาท โดยมีวัตถุประสงค์โครงการ เพื่อส่งเสริมให้บิดา-มารดา หรือผู้ปกครอง มีความรู้ในการเลี้ยงดูบุตรหลานที่เหมาะสมตามวัย และพัฒนาการสมวัยทั้ง 4 ด้าน ให้เหมาะสมตามวัย ตัวชี้วัดความสำเร็จ (1) ร้อยละ 80 บิดา-มารดา หรือผู้ปกครอง/ผู้เข้าร่ววมกิจกรรม มีความรู้ในการเลี้ยงดูบุตรที่เหมาะสมตามวัย (2) ร้อยละ 85 เด็กปฐมวัยตั้งแต่แรกเกิด - 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ทั้ง 4 ด้าน ตามแบบประเมิน DSPM

กิจกรรมที่ดำเนินการ ดังนี้

  • กิจกรรมที่ 1 เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โดยอาสาสมัครสาธารณสุข และประชาสัมพันธ์เสียงตามสาย
  • กิจกรรมที่ 2 ดำเนินกิจกรรมให้ความรู้บิดา-มารดา หรือผู้ปกครองเด็กปฐมวัยตั้งแต่แรกเกิด-5 ปี
  • กิจกรรมที่ 3 ดำเนินกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และระดมสมอง
  • กิจกรรมที่ 4 ดำเนินกิจกรรมรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการที่สนใจ 20 คน เพื่อสร้างครอบครัวต้นแบบ
  • กิจกรรมที่ 5 รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ผลการดำเนินงาน

  1. มีการประชาสัมพันธ์โดยอาสาสมัครสาธารณสุขและประชาสัมพันธ์เสียงตามสายในชุมชน ทั้ง 12 หมู่บ้าน ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง ร้อยละ 100 โดยบิดา-มารดา หรือผู้ปกครองเด็กปฐมวัยตั้งแต่แรกเกิด - 5 ปี สมัครเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 100 คน

  2. บิดา - มารดา หรือผู้ปกครองเด็กปฐมวัยตั้งแต่แรกเกิด - 5 ปี ได้รับความรู้ เรื่องการดูแลสุขภาพอนามัย การได้รับวัคซีน ทันตสุขภาพ การเจริญเติบโต และภาวะโภชนาการ พัฒนาการตามกลุ่มวัย และการสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว

  3. ผู้เข้าร่วมโครงการเข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และระดมพลังสมอง ร้อยละ 100

  4. กิจกรรมสร้างครอบครัวต้นแบบ โดยมีผู้เข้าร่วมสนใจเข้าร่วมโครงการ 20 คน ร้อยละ 100 และผ่านการประเมิน DSPM 5 ด้าน และมีการมอบเกียรติบัตรเพื่อสร้างแรงจูงใจให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ทั้ง 20 คน

ซึ่งการดำเนินโครงการครั้งนี้ บิดา-มารดา หรือผู้ปกครอง / ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ใรความรู้ในการเลี้ยงดูบุตรที่เหมาะสมตามวัย โดยประเมินตามแบบประเมินความรู้ ผ่านร้อยละ 85 และเด็กปฐมวัยตั้งแต่แรกเกิด - 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ทั้ง 4 ด้าน โดยใช้แบบประเมิน DSPM ผ่านร้อยละ 76

ปัญหาอุปสรรค

  • เนื่องจากระยะเวลาการจัดทำโครงการมีสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) จึงทำให้การดำเนินโครงการต้องอยู่ภายใต้มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโน่า 2019 (COVID-19) จึงทำให้บางกิจกรรมมีข้อจำกัดที่ต้องปรับเปลี่ยนเพื่อความเหมาะสมกับสถานการณ์

  • บางกิจกรรมที่ต้องทำร่วมกับเด็กปฐมวัยต้องใช้ระยะเวลานานมากขึ้น เพื่อให้ได้ความร่วมมือจากเด็กปฐมวัย ทำให้กิจกรรมลล่าช้า

  • ผู้ปกครองในปัจจุบันต้องทำงานนอกบ้าน ไม่ค่อยมีเวลาในการส่งเสริมพัฒนาการลูก ส่วนใหญ่ลูกอยู่กับผู้สูงอายุ

ข้อเสนอแนะ

  • ปฏิบัติตามมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการปพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

  • ติดตามการกระตุ้นและการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยกับบิดา-มารดา หรือผู้ปกครอง อย่างสม่ำเสมอ เพื่อความต่อเนื่องและพัฒนาการที่สมวัย

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ
  1. เนื่องจากระยะเวลาการจัดทำโครงการมีสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) จึงทำให้การดำเนินโครงการต้องอยู่ภายใต้มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโน่า 2019 (COVID-19) จึงทำให้บางกิจกรรมมีข้อจำกัดที่ต้องปรับเปลี่ยนเพื่อความเหมาะสมกับสถานการณ์

  2. บางกิจกรรมที่ต้องทำร่วมกับเด็กปฐมวัยต้องใช้ระยะเวลานานมากขึ้น เพื่อให้ได้ความร่วมมือจากเด็กปฐมวัย ทำให้กิจกรรมลล่าช้า

  3. ผู้ปกครองในปัจจุบันต้องทำงานนอกบ้าน ไม่ค่อยมีเวลาในการส่งเสริมพัฒนาการลูก ส่วนใหญ่ลูกอยู่กับผู้สูงอายุ

 

  1. ปฏิบัติตามมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการปพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

  2. ติดตามการกระตุ้นและการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยกับบิดา-มารดา หรือผู้ปกครอง อย่างสม่ำเสมอ เพื่อความต่อเนื่องและพัฒนาการที่สมวัย


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเด็กแรกเกิด - 5 ปี ปีงบประมาณ 2564

รหัสโครงการ 2564 - L8010 – 1 - 2 รหัสสัญญา 05/2564 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเด็กแรกเกิด - 5 ปี ปีงบประมาณ 2564 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 2564 - L8010 – 1 - 2

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายปวิตร วณิชชานนท์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด