กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพดี มีได้ ต้องทำเองชมรม อสม.หมู่ที่ 9
รหัสโครงการ 64-L3346-2-29
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรม อสม.หมู่ที่ 9
วันที่อนุมัติ 1 มกราคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 24,950.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางทวิพร สร้อยทอง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากสถานการณ์ความเจ็บป่วยของประชาชนในหมู่ที่่9 พบว่าประชาชนมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดัน/เบาหวาน/หัวใจ/หลอดเลือสมอง และมะเรง เพิ่มขึ้นทุกปี ปี 2561 มีจำนวน 46 ราย ปี 2562 มีจำนวน 49 ราย และปี 256 มีจำนวน 50 รายซึ่งโรคดังกล่าวเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการมีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกายที่ต่อเนื่อง การใช้ชีวิตประจำวันอย่างเร่งรีบ/ความเครียดเป็นต้น
จากสถานการณ์ดังกล่าวทำให้อสม ได้มีการคัดกรองเพื่อเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงไม่ให้เกิดโรคกลุ่มป่วยมิให้เกิดโรคแทรกซ้อน และกลุ่มปกติไม่ให้เป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรค จึงได้มีการรับสมัคครัวเรือน จำนวน 50 ครัวเรือน( 1ครัวเรือน 1 คน) พื่อเข้าร่วมโครงการ โดยครัวเรือนที่เข้าร่วมต้องมีสมาชิกในครัวเรือนมีการอออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมออย่างน้อยสัปดาห์ละ 3-5 วัน มีการปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภคในครัวเรือนอย่างน้อย 5 ชนิดและมีการประกอบอาหารกินเองเป็นประจำเพื่อเป็นการส่งเสริมการมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหหมาะสมและสามารถป้องกันโรคได้ในอนาคต อีกทั้งเป็นการลดค่าใช้จ่ายของครอบครัวและของประเทศได้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 24,950.00 5 24,950.00
1 ม.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 1.กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ 0 14,600.00 14,600.00
1 ม.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 2.กิจกรรมตู้เย็นข้างบ้าน 0 5,650.00 5,650.00
1 ม.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 3.กิจกรรมกินเป็นเน้นผัก 0 3,150.00 3,150.00
1 ม.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 4.กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์การดูแลสุขภาพ 0 1,250.00 1,250.00
1 ม.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 5.กิจกรรมประเมินผลสุขภาพ 0 300.00 300.00

1.เสนอโครงการเพื่อเข้าแผนกองทุน 2.จัดทำแบบเสนอโครงการและจัดทำบันทึกข้อตกลง 3.ดำเนินงานตามโครงการ
4.ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลส่งกลับมายังกองทุน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ร้อยละ 80 ของประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีสภาวะสุขภาพของตนเองสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร/การออกกำลังกายที่ถนัดและเหมาะสม 2.ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีการปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภอย่างน้อย 5 ชนิด 3.ประชาชนมีอัตราการป่วยด้วยโรคเรื้อรังรายใหม่ ไม่เกินร้อยละ 10 4.กลุ่มเสี่ยงได้รับการส่งต่อข้อมูลไปยัง รพ.สต.บ้านตลิ่งชันเพื่อตรวจสุขภาพ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 12 ม.ค. 2564 11:17 น.