กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการสุขภาพดี มีได้ ต้องทำเองชมรม อสม.หมู่ที่ 9

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว

ชมรม อสม.หมู่ที่ 9

1.นางทวิพรสร้อยทอง
2.นางปิยวรรณ เลียดรักษ์
3.นางสุคนธ์พิทักษ์กิจ
4.นางสมทรงเพ็งคลิ้ง
5.นางดรุณี คงเหลือ

หอประชุมหมู่ที่ 9 ตำบลบ้านพร้าว

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานขยะ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

จากสถานการณ์ความเจ็บป่วยของประชาชนในหมู่ที่่9 พบว่าประชาชนมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดัน/เบาหวาน/หัวใจ/หลอดเลือสมอง และมะเรง เพิ่มขึ้นทุกปี ปี 2561 มีจำนวน 46 ราย ปี 2562 มีจำนวน 49 ราย และปี 256 มีจำนวน 50 รายซึ่งโรคดังกล่าวเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการมีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกายที่ต่อเนื่อง การใช้ชีวิตประจำวันอย่างเร่งรีบ/ความเครียดเป็นต้น
จากสถานการณ์ดังกล่าวทำให้อสม ได้มีการคัดกรองเพื่อเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงไม่ให้เกิดโรคกลุ่มป่วยมิให้เกิดโรคแทรกซ้อน และกลุ่มปกติไม่ให้เป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรค จึงได้มีการรับสมัคครัวเรือน จำนวน 50 ครัวเรือน( 1ครัวเรือน 1 คน) พื่อเข้าร่วมโครงการ โดยครัวเรือนที่เข้าร่วมต้องมีสมาชิกในครัวเรือนมีการอออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมออย่างน้อยสัปดาห์ละ 3-5 วัน มีการปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภคในครัวเรือนอย่างน้อย 5 ชนิดและมีการประกอบอาหารกินเองเป็นประจำเพื่อเป็นการส่งเสริมการมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหหมาะสมและสามารถป้องกันโรคได้ในอนาคต อีกทั้งเป็นการลดค่าใช้จ่ายของครอบครัวและของประเทศได้

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

1.เพื่อให้ประชาชนหมู่ที9 ท่มีความเสี่ยงมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดการเกิดโรคเรื้อรัง
2.ส่งเสริมให้มีการออกกำลังกายที่ถนัดและต่อเนื่อง
3.ส่งเสริมให้ประชาชนได้บริโภคผักที่ปลอดสารพิษตกค้างในปริมาณที่เพียงพอ

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
1.กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ -ตรวจสุขภาพ คัดกรองกลุ่มเสี่ยง เพื่อหาดัชนีมวลกายก่อนเข้าร่วม วัดความดัน/ชั่งน้ำหนัก/วัดรอบเอว/วัดส่วนสูง - อบรมการออกกำลังกายที่เหมาะสม - กลุ่มเป้าหมายออกกำลังกายจำนวน 20 วันอย่างต่อเนื่อง งบประมาณ -ค่าป้ายโครงการฯ 1x3 เมตร @150.- 450 -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม50คน × 25 บาท 1250 -ค่าวิทยากร 3 ชม.× 300 บาท900 -ค่าเครื่องดื่มและน้ำดื่มวันออกกำลังกาย50 คน × 10บาท × 20 ครั้ง 10000 -ค่าวิทยากรนำออกกำลังกาย100 บาท × 20 ครั้ง 2000 รวมเงิน 14600.-

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ร้อยละ 80 ของประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีสภาวะสุขภาพของตนเองสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร/การออกกำลังกายที่ถนัดและเหมาะสม 2.ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีการปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภอย่างน้อย 5 ชนิด 3.ประชาชนมีอัตราการป่วยด้วยโรคเรื้อรังรายใหม่ ไม่เกินร้อยละ 10 4.กลุ่มเสี่ยงได้รับการส่งต่อข้อมูลไปยัง รพ.สต.บ้านตลิ่งชันเพื่อตรวจสุขภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
14600.00

กิจกรรมที่ 2 2.กิจกรรมตู้เย็นข้างบ้าน

ชื่อกิจกรรม
2.กิจกรรมตู้เย็นข้างบ้าน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

2.กิจกรรมตู้เย็นข้างบ้าน -อบรมให้ความรู้การปลูกผัก ข้างบ้าน -การปลูกผักขางบ้านไว้กินเอง อย่างน้อยครัวเรือนละ 5 ชนิด งบประมาณ -ค่าอาหารว่างจำนวน50คน × 25 บาท =1250 -ค่าวิทยากร 300 บาท x 3ชม. =900 -ค่าต้นกล้าพันธ์ผัก50 คน × 10 ต้น × 2 บาท=1000 -ค่าเมล็ดพันธ์ผักจำนวน 50 คน × 2 ห่อ × 25 บาท =2500 รวมเงิน5650.-

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ร้อยละ 80 ของประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีสภาวะสุขภาพของตนเองสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร/การออกกำลังกายที่ถนัดและเหมาะสม 2.ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีการปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภอย่างน้อย 5 ชนิด 3.ประชาชนมีอัตราการป่วยด้วยโรคเรื้อรังรายใหม่ ไม่เกินร้อยละ 10 4.กลุ่มเสี่ยงได้รับการส่งต่อข้อมูลไปยัง รพ.สต.บ้านตลิ่งชันเพื่อตรวจสุขภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5650.00

กิจกรรมที่ 3 3.กิจกรรมกินเป็นเน้นผัก

ชื่อกิจกรรม
3.กิจกรรมกินเป็นเน้นผัก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

3.กิจกรรมกินเป็นเน้นผัก - อบรมการทำเมนูเพื่อสุขภาพ - การทำเมนูสุขภาพ งบประมาณ ค่าอาหารว่างจำนวน50คน × 25 บาท = 1250 -ค่าวิทยากร 300 บาท x 3ชม.= 900 -ค่าวัสดุสาธิตการทำเมนูสุขภาพ= 1000 รวมเงิน 3150.-

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ร้อยละ 80 ของประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีสภาวะสุขภาพของตนเองสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร/การออกกำลังกายที่ถนัดและเหมาะสม 2.ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีการปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภอย่างน้อย 5 ชนิด 3.ประชาชนมีอัตราการป่วยด้วยโรคเรื้อรังรายใหม่ ไม่เกินร้อยละ 10 4.กลุ่มเสี่ยงได้รับการส่งต่อข้อมูลไปยัง รพ.สต.บ้านตลิ่งชันเพื่อตรวจสุขภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3150.00

กิจกรรมที่ 4 4.กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์การดูแลสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
4.กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์การดูแลสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

4.กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์การดูแลสุขภาพ    - การถ่ายทอดความรู้จากบุคคลต้นแบบในการดูแลสุขภาพ / การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ งบประมาณ -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 50คน × 25 บาท   = 1250

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ร้อยละ 80 ของประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีสภาวะสุขภาพของตนเองสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร/การออกกำลังกายที่ถนัดและเหมาะสม 2.ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีการปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภอย่างน้อย 5 ชนิด 3.ประชาชนมีอัตราการป่วยด้วยโรคเรื้อรังรายใหม่ ไม่เกินร้อยละ 104. 4.กลุ่มเสี่ยงได้รับการส่งต่อข้อมูลไปยัง รพ.สต.บ้านตลิ่งชันเพื่อตรวจสุขภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1250.00

กิจกรรมที่ 5 5.กิจกรรมประเมินผลสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
5.กิจกรรมประเมินผลสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

5.กิจกรรมประเมินผลสุขภาพ    - การตรวจสุขภาพ วัดความดัน/    ชั่งน้ำหนัก/วัดรอบเอว หลังเข้าร่วมโครงการ    - รายงานผลสรุปการทำกิจกรรม

งบประมาณ ค่าถ่ายเอกสารจำนวน 2 เล่ม × 150 บาท  =300

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ร้อยละ 80 ของประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีสภาวะสุขภาพของตนเองสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร/การออกกำลังกายที่ถนัดและเหมาะสม 2.ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีการปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภอย่างน้อย 5 ชนิด 3.ประชาชนมีอัตราการป่วยด้วยโรคเรื้อรังรายใหม่ ไม่เกินร้อยละ 10 4.กลุ่มเสี่ยงได้รับการส่งต่อข้อมูลไปยัง รพ.สต.บ้านตลิ่งชันเพื่อตรวจสุขภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
300.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 24,950.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ร้อยละ 80 ของประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีสภาวะสุขภาพของตนเองสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร/การออกกำลังกายที่ถนัดและเหมาะสม
2.ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีการปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภอย่างน้อย 5 ชนิด
3.ประชาชนมีอัตราการป่วยด้วยโรคเรื้อรังรายใหม่ ไม่เกินร้อยละ 10
4.กลุ่มเสี่ยงได้รับการส่งต่อข้อมูลไปยัง รพ.สต.บ้านตลิ่งชันเพื่อตรวจสุขภาพ


>