โครงการการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บือเระ ปี 2564
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บือเระ ปี 2564 ”
ตำบลบือเระ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวกูยะห์ มานิ๊
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บือเระ
กันยายน 2564
ชื่อโครงการ โครงการการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บือเระ ปี 2564
ที่อยู่ ตำบลบือเระ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 64-L3056-4-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บือเระ ปี 2564 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบือเระ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บือเระ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บือเระ ปี 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บือเระ ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบือเระ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L3056-4-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บือเระ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
ตามที่องค์การบริหารส่วนตำบลบือเระ ได้ดำเนินการเข้าร่วมโครงการหลักประกันท้องถิ่นหรือพื้นที่ในเขตรับผิดชอบ เพื่อส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมตามความพร้อมความเหมาะสมและความต้องการของประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ ตลอดจนการป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพและการรักษาระดับปฐมภูมิเชิงรุกในพื้นที่ได้อย่างทั่วถึงและที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตดังนั้น ในการปฏิบัติหน้าที่ของกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบือเระ ได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน เพื่อปฏิบัติหน้าที่ในการพิจารณาโครงการ/แผนงานทางหน่วยงานราชการและชุมชนต่าง ๆ ได้เสนอมา ตลอดจนการประสานงานตามโครงการเพื่อให้เกิดความคล่องตัวและมีประสิทธิภาพ พร้อมจัดทำแผนประจำปี และสรุปประเมินผลโครงการในแต่ละปี
แผนสุขภาพชุมชน หมายถึง แผนงานด้านสุขภาพของประชาชนโดยประชาชน เพื่อประชาชนเป็นกระบวนการที่ชุมชนมีส่วนร่วมคิด ร่มค้นหา ร่วมเรียนรู้ ร่วมกำหนดทิศทาง ร่วมจัดกิจกรรมการพัฒนาและร่วมกับผลประโยชน์ โดยเริ่มจากการคัดเลือกแกนนำ การทบทวนในอดีตเพื่อกำหนดอนาคตการสำรวจข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สภาพปัญหา และการประเมินศักยภาพของชุมชน เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในเกิดการทบทวนตนเอง โดยคำนึงถึงศักยภาพ ทรัพยากร ภูมิปัญญา วิถีชีวิต วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมในชุมชนรวมทั้งแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นตามศักยภาพของชุมชน กระตุ้นประชาชนให้เกิดความกระตือรือร้นในการพัฒนาชุมชนของตัวเอง ตลอดจนให้ความร่วมมือกับกิจกรรมด้านสุขภาพ และร่วมติดตามประเมินผล โดยสามารถขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอกได้ และเนื่องจากปัญหาด้านสุขภาพส่วนใหญ่เป็นปัญหาด้านพฤษติกรรมของบุคคลที่มีสาเหตุมาจากปัจจัยหลายด้านที่ผสมผสานกัน อันได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคลที่มาจากพันธุกรรม เจตคติ ความรู้และความเข้าใจ ปัจจัยด้านครอบครัว ชุมชน สังคม วัฒนธรรม และวิถีชีวิต ซึ่งการแก้ไขจะต้องใช้กลวิธีดำเนินงานในหลายวิธีและใช้ระยะเวลาในการดำเนินงานที่ต่อเนื่อง โดยอาศัยความร่วมมือของทุกภาคส่วนและบุคคลที่เป็นเจ้าของสุขภาพ ดังนั้น เพื่อให้การบริหารจัดการกองทุนบรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีระบบการจัดทำข้อมูล มีการจัดทำแผนงานที่ใช้เป็นแนวทางแก้ไขปัญหาและกำหนดทิศทางการดำเนินงานในการสนับสนุนให้แก่ หน่วยบริการ ประชาชนและภาคีที่เกี่ยวข้อง จากความสำคัญของการทำแผนสุขภาพชุมชน คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบือเระ จึงเห็นชอบ ในหลักการให้จัดทำโครงการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน ซึ่งกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบือเระจะนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนกิจกรรมด้านการพัฒนาสุขภาพของประชาชนให้มีสุขภาวะที่ดีอย่างยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. โครงการการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บือเระ
- 2. การจัดทำแผนสุขภาพชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2565
- 3. ค่าวัสดุสำนักงาน ค่าเดินทางไปราชการ ฯลฯ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
19
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ได้รับความร่วมมืออย่างดีจากคณะกรรมการกองทุนฯ ในการเข้าร่วมประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการต่าง ๆ
- ผู้เข้าร่วมประชุมเข้าใจและได้รับทราบปัญหาและหาทางแก้ไขร่วมกัน
- กองทุนสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบือเระ มีแผนมีพัฒนาสุขภาพและแผนปฏิบัติการ เพื่อใช้เป็นแนวทางการบริหาร
กองทุนฯ
- หน่วยงานและกลุ่มองค์กรเข้าใจในการทำแผนกองทุนตำบล เสนอโครงการเพื่อสุขภาพเข้าขอรับเงินจากกองทุน โครงการ
ตามแผนสามารถทำให้ประชาชนในตำบลกาหลงมีการดูแลสุขภาพที่ดี
- รับทราบปัญหาและความต้องการของประชาชนในพื้นที่เกี่ยวกับการป้องกันปัญหาสุขภาพการบำบัดการฟื้นฟูสุขภาพและ
การรักษาเบื้องต้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
19
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
19
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. โครงการการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บือเระ (2) 2. การจัดทำแผนสุขภาพชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2565 (3) 3. ค่าวัสดุสำนักงาน ค่าเดินทางไปราชการ ฯลฯ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บือเระ ปี 2564 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 64-L3056-4-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวกูยะห์ มานิ๊ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บือเระ ปี 2564 ”
ตำบลบือเระ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวกูยะห์ มานิ๊
กันยายน 2564
ที่อยู่ ตำบลบือเระ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 64-L3056-4-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บือเระ ปี 2564 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบือเระ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บือเระ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บือเระ ปี 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บือเระ ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบือเระ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L3056-4-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บือเระ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) ตามที่องค์การบริหารส่วนตำบลบือเระ ได้ดำเนินการเข้าร่วมโครงการหลักประกันท้องถิ่นหรือพื้นที่ในเขตรับผิดชอบ เพื่อส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมตามความพร้อมความเหมาะสมและความต้องการของประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ ตลอดจนการป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพและการรักษาระดับปฐมภูมิเชิงรุกในพื้นที่ได้อย่างทั่วถึงและที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตดังนั้น ในการปฏิบัติหน้าที่ของกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบือเระ ได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน เพื่อปฏิบัติหน้าที่ในการพิจารณาโครงการ/แผนงานทางหน่วยงานราชการและชุมชนต่าง ๆ ได้เสนอมา ตลอดจนการประสานงานตามโครงการเพื่อให้เกิดความคล่องตัวและมีประสิทธิภาพ พร้อมจัดทำแผนประจำปี และสรุปประเมินผลโครงการในแต่ละปี แผนสุขภาพชุมชน หมายถึง แผนงานด้านสุขภาพของประชาชนโดยประชาชน เพื่อประชาชนเป็นกระบวนการที่ชุมชนมีส่วนร่วมคิด ร่มค้นหา ร่วมเรียนรู้ ร่วมกำหนดทิศทาง ร่วมจัดกิจกรรมการพัฒนาและร่วมกับผลประโยชน์ โดยเริ่มจากการคัดเลือกแกนนำ การทบทวนในอดีตเพื่อกำหนดอนาคตการสำรวจข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สภาพปัญหา และการประเมินศักยภาพของชุมชน เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในเกิดการทบทวนตนเอง โดยคำนึงถึงศักยภาพ ทรัพยากร ภูมิปัญญา วิถีชีวิต วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมในชุมชนรวมทั้งแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นตามศักยภาพของชุมชน กระตุ้นประชาชนให้เกิดความกระตือรือร้นในการพัฒนาชุมชนของตัวเอง ตลอดจนให้ความร่วมมือกับกิจกรรมด้านสุขภาพ และร่วมติดตามประเมินผล โดยสามารถขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอกได้ และเนื่องจากปัญหาด้านสุขภาพส่วนใหญ่เป็นปัญหาด้านพฤษติกรรมของบุคคลที่มีสาเหตุมาจากปัจจัยหลายด้านที่ผสมผสานกัน อันได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคลที่มาจากพันธุกรรม เจตคติ ความรู้และความเข้าใจ ปัจจัยด้านครอบครัว ชุมชน สังคม วัฒนธรรม และวิถีชีวิต ซึ่งการแก้ไขจะต้องใช้กลวิธีดำเนินงานในหลายวิธีและใช้ระยะเวลาในการดำเนินงานที่ต่อเนื่อง โดยอาศัยความร่วมมือของทุกภาคส่วนและบุคคลที่เป็นเจ้าของสุขภาพ ดังนั้น เพื่อให้การบริหารจัดการกองทุนบรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีระบบการจัดทำข้อมูล มีการจัดทำแผนงานที่ใช้เป็นแนวทางแก้ไขปัญหาและกำหนดทิศทางการดำเนินงานในการสนับสนุนให้แก่ หน่วยบริการ ประชาชนและภาคีที่เกี่ยวข้อง จากความสำคัญของการทำแผนสุขภาพชุมชน คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบือเระ จึงเห็นชอบ ในหลักการให้จัดทำโครงการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน ซึ่งกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบือเระจะนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนกิจกรรมด้านการพัฒนาสุขภาพของประชาชนให้มีสุขภาวะที่ดีอย่างยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. โครงการการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บือเระ
- 2. การจัดทำแผนสุขภาพชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2565
- 3. ค่าวัสดุสำนักงาน ค่าเดินทางไปราชการ ฯลฯ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 19 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ได้รับความร่วมมืออย่างดีจากคณะกรรมการกองทุนฯ ในการเข้าร่วมประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการต่าง ๆ
- ผู้เข้าร่วมประชุมเข้าใจและได้รับทราบปัญหาและหาทางแก้ไขร่วมกัน
- กองทุนสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบือเระ มีแผนมีพัฒนาสุขภาพและแผนปฏิบัติการ เพื่อใช้เป็นแนวทางการบริหาร
กองทุนฯ
- หน่วยงานและกลุ่มองค์กรเข้าใจในการทำแผนกองทุนตำบล เสนอโครงการเพื่อสุขภาพเข้าขอรับเงินจากกองทุน โครงการ ตามแผนสามารถทำให้ประชาชนในตำบลกาหลงมีการดูแลสุขภาพที่ดี
- รับทราบปัญหาและความต้องการของประชาชนในพื้นที่เกี่ยวกับการป้องกันปัญหาสุขภาพการบำบัดการฟื้นฟูสุขภาพและ การรักษาเบื้องต้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 19 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 19 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. โครงการการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บือเระ (2) 2. การจัดทำแผนสุขภาพชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2565 (3) 3. ค่าวัสดุสำนักงาน ค่าเดินทางไปราชการ ฯลฯ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บือเระ ปี 2564 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 64-L3056-4-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวกูยะห์ มานิ๊ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......