กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง


“ คัดกรองและบำบัดผู้สูบบุหรี่ สุราในชุมชนเขต อบต.ตุยง ปี 64 ”

ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางศิริพร จินดารัตน์

ชื่อโครงการ คัดกรองและบำบัดผู้สูบบุหรี่ สุราในชุมชนเขต อบต.ตุยง ปี 64

ที่อยู่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L3065-1-02 เลขที่ข้อตกลง 13/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"คัดกรองและบำบัดผู้สูบบุหรี่ สุราในชุมชนเขต อบต.ตุยง ปี 64 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
คัดกรองและบำบัดผู้สูบบุหรี่ สุราในชุมชนเขต อบต.ตุยง ปี 64



บทคัดย่อ

โครงการ " คัดกรองและบำบัดผู้สูบบุหรี่ สุราในชุมชนเขต อบต.ตุยง ปี 64 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L3065-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2560 ในกลุ่มที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป พบว่า มีจำนวนผู้สูบบุหรี่ทั้งหมด 10.7 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 19.1 จากประชากรทั้งสิ้น 55.9 ล้านคน มีผู้สูบบุหรี่เป็นประจำถึง 9.4 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 16.8 และสูบเป็นครั้งคราว 1.3 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 2.3 ส่วนผู้ที่เคยสูบแต่เลิกแล้วพบเพียง 3.7 ล้านคน ผู้ที่สูบบุหรี่เป็นประจำนั้นมากกว่าครึ่งหนึ่ง ร้อยละ 61.7 ของผู้ที่สูบบุหรี่เป็นประจำ สูบบุหรี่มวนที่ผลิตจากโรงงาน รองลงมาสูบบุหรี่มวนเอง ร้อยละ 55.4 เมื่อพิจารณาอัตราการสูบบุหรี่ตามกลุ่มวัย พบว่า กลุ่มวัยทำงาน (25-59 ปี) มีอัตราการสูบบุหรี่สูงสุด ร้อยละ 23.5 รองลงมาคือกลุ่มวัยสูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) และกลุ่มเยาวชน (15-24 ปี) ร้อยละ16.6 และ 14.7 ตามลำดับ และเมื่อจำแนกรายภูมิภาค พบว่า ภาคใต้มีอัตราการสูบบุหรี่สูงที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับภาคอื่น โดย มีจำนวนผู้สูบบุหรี่ทั้งหมด 1.9 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 27.1 จากประชากรทั้งหมด ผู้สูบบุหรี่ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีจำนวน 1.8 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 54.3 จากคนที่สูบบุหรี่ทั้งหมด โดยเฉพาะจังหวัดปัตตานีมีผู้สูบบุหรี่อายุ 15 ปีขึ้นไป มากเป็นอันดับที่ ๑๑ ของประเทศไทย อัตราร้อยละ 23.40 และการดื่มสุราเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญต่อสุขภาพกายและจิต พฤติกรรมการดื่มที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงหรืออันตรายทั้งต่อตัวผู้ดื่มเอง ครอบครัวและสังคม จากข้อมูลรายงานภาวะโรคและการบาดเจ็บของประชากรไทย 2557 พบว่า การเสพติดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ก่อให้เกิดการสูญเสียสุขภาวะจากภาวะบกพร่องทางสุขภาพ (Years due to Disability) เป็นอับดับหนึ่งในเพศชาย โดยเฉพาะในช่วงวัยรุ่นและวัยผู้ใหญ่ตอนต้น และจากผลการสำรวจปัญหาสุขภาพจิตในคนไทย พบคนไทยอายุ ๑๘ ปีขึ้นไปที่มีความผิดปกติพฤติกรรมสุราหรือ alcohol use disorders ๒.๗ ล้านคน โดยเป็นผู้ดื่มแบบอันตราย ๑.๘ ล้านคน และเป็นผู้ดื่มแบบติด ๙ แสนคน แต่ในจำนวนนี้เข้ารับบริการสุขภาพเพียงร้อยละ ๖.๑๓ แสดงถึงช่องว่างการเข้าถึงบริการของผู้มีปัญหาการดื่มสุราที่สูงมาก และอัตราการดื่มแอลกอฮอล์ในกลุ่มอายุ ๑๕ ปีขึ้นไปในจังหวัดปัตตานี อัตราร้อยละ ๓.๙ จากการดำเนินงานบุหรี่ของโรงพยาบาลหนองจิกในปี 256๒-๒๕๖๓ ได้มีการสำรวจพฤติกรรมสุขภาพในประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปในตำบลตุยง จำนวน ๗,๓๑๘ คน , ๗,๓๖๒ คน พบว่า ผู้ที่สูบบุหรี่ มีจำนวน 1,865 คน , ๑๕๖๖ คนร้อยละ 2๕.๔๘, ๒๑.๒๗ของประชากรที่สำรวจ โดยผู้สูบส่วนใหญ่เป็นผู้สูบเป็นประจำทุกวัน จำนวน 988 คน , ๘๐๒ คนร้อยละ52.97 , ๕๑.๒๑ ผู้ที่สูบนานๆ ครั้ง จำนวน 877 คน , ๗๖๔ คน ร้อยละ 47.03 , ๔๘.๗๘ จากการสำรวจสถานที่ปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย พบว่า ในชุมชนมีสถานที่ต้องเป็นเขตปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย จำนวน92 แห่ง แต่ยังมีร้านค้าจำหน่ายบุหรี่ 58 แห่ง ซึ่งพบว่า ร้านค้าส่วนใหญ่ยังจำหน่ายบุหรี่ให้กับเด็กและมีการลักลอบนำบุหรี่จากประเทศเพื่อนบ้านมาจำหน่ายในราคาถูก จากปัญหาดังกล่าวส่งผลให้คนในชุมชนสูบบุหรี่เพิ่มขึ้นและการสูบบุหรี่ก่อให้เกิดโรคเรื้อรังซึ่งส่งผลกระทบในระยะยาว และงานสุรายังไม่มีการสำรวจผู้ดื่มอย่างจริงจัง รวมทั้งคัดกรองผู้ดื่มสุราในชุมชนเพื่อเข้าสู่กระบวนการบำบัด
ดังนั้นโรงพยาบาลหนองจิก ได้เห็นความสำคัญของการเกิดโรคเรื้อรังจากการสูบบุหรี่ ลดจำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้สูบบุหรี่รายเก่าในชุมชน โดยนำเข้าสู่กระบวนการบำบัดและให้คำปรึกษา ติดตามพฤติกรรมอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 6 เดือนขึ้นไป เพื่อให้คนในชุมชนสามารถเลิกบุหรี่ได้และเป็นบุคคลต้นแบบในการเลิกบุหรี่ และผู้ดื่มสุราได้รับการคัดกรองปัญหาการดื่มสุรา ให้คำแนะนำปรึกษาเบื้องต้นในชุมชน ส่วนผู้ติดสุราได้เข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสภาพผู้มีปัญหาการดื่มสุราต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจในการคัดกรองผู้สูบบุหรี่และสุรา สามารถให้คำแนะนำวิธีการเลิกบุหรี่และสุราได้ระดับเบื้องต้น
  2. เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่และผู้ดื่มสุราในชุมชนได้รับการคัดกรองและเข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษาในคลินิกอดบุหรี่และสุราสัญจร
  3. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีการติดตามพฤติกรรมผู้สูบบุหรี่และดื่มสุราในชุมชน
  4. เพื่อให้ผู้ที่อยู่ในระดับการติดบุหรี่และสุราในชุมชนได้รับการส่งต่อในโรงพยาบาล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สร้างเครือข่าย ก้าวทันข้อมูลในพื้นที่
  2. คัดกรองกลุ่มเป้าหมายเพื่อการบำบัด
  3. รุกพื้นที่ ติดตามพฤติกรรมการเสพ ดื่ม ของกลุ่มเป้าหมาย
  4. สรุปผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูบบุหรี่และสุราเข้าถึงบริการคลินิกอดบุหรี่และสุราสัญจร ทำให้เกิดบุคคลต้นแบบเลิกบุหรี่และสุราในชุมชน ๒. เกิดระบบการเฝ้าระวังการสูบบุหรี่และดื่มสุราของคนในชุมชน มีมาตรการของชุมชนเพื่อถือปฏิบัติ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. สร้างเครือข่าย ก้าวทันข้อมูลในพื้นที่

วันที่ 15 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

-ประชุมเครือข่ายสุขภาพในพื้นที่ เพื่อให้ความรู้ ระดมความคิดจัดทำแผนเพื่อแก้ไขปัญหาและถอดบทเรียนชุมชน จำนวน ๒ ครั้ง
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 35 คนx 60 บาทx 2 ครั้ง เป็นเงิน  4,200.- บาท -ค่าอาหารกลางวันพร้อมน้ำดื่ม จำนวน 35 คนx 35 บาทx 2 มื้อx 2 ครั้ง เป็นเงิน เป็นเงิน4,900.- บาท รวมเป็นเงิน 9,100.- บาท 0

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สร้างการมีส่วนร่วมและพัฒนาศักยภาพเครื่อข่ายสุขภาพและมีข้อมูลที่เป็นปัจจุบันสามารถใช้ได้เลย

 

0 0

2. คัดกรองกลุ่มเป้าหมายเพื่อการบำบัด

วันที่ 5 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

คัดกรองกลุ่มเสี่ยงผู้สูบบุหรี่และดื่มเหล้าในชุมชนพร้อมจัดเวทีการแลกเปลี่ยนข้อมูล -ค่าอาหารกลางวันพร้อมน้ำดื่ม จำนวน 25 คนx 60 บาท x 2 ครั้ง เป็นเงิน 3,000.- บาท -ค่าอหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 25 คนx 35 บาทx 2 มื้อx 2 ครั้ง เป็นเงิน  เป็นเงิน 3,500.- บาท รวมเป็นเงิน 6,500.- บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รับความร่วมมือจากกลุ่มเป้าหมายและและเข้าสู่กระบวนการบำบัด

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจในการคัดกรองผู้สูบบุหรี่และสุรา สามารถให้คำแนะนำวิธีการเลิกบุหรี่และสุราได้ระดับเบื้องต้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของอาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจในการคัดกรองผู้สูบบุหรี่และสุรา สามารถให้คำแนะนำวิธีการเลิกบุหรี่และสุราได้ระดับเบื้องต้น
0.00 80.00

 

2 เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่และผู้ดื่มสุราในชุมชนได้รับการคัดกรองและเข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษาในคลินิกอดบุหรี่และสุราสัญจร
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๑๐0 ของผู้สูบบุหรี่และสุราในชุมชนได้รับการคัดกรองและเข้าบำบัดในคลินิกอดบุหรี่และสุราสัญจรอย่างต่อเนื่อง
0.00 100.00

 

3 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีการติดตามพฤติกรรมผู้สูบบุหรี่และดื่มสุราในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๓0 ของผู้สูบบุหรี่และสุราที่เข้าคลินิกอดบุหรี่และสุราสัญจรในชุมชน สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้
0.00 30.00

 

4 เพื่อให้ผู้ที่อยู่ในระดับการติดบุหรี่และสุราในชุมชนได้รับการส่งต่อในโรงพยาบาล
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๕๐ ของผู้ติดบุหรี่และสุราได้รับการส่งต่อในโรงพยาบาล
0.00 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจในการคัดกรองผู้สูบบุหรี่และสุรา สามารถให้คำแนะนำวิธีการเลิกบุหรี่และสุราได้ระดับเบื้องต้น (2) เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่และผู้ดื่มสุราในชุมชนได้รับการคัดกรองและเข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษาในคลินิกอดบุหรี่และสุราสัญจร (3) เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีการติดตามพฤติกรรมผู้สูบบุหรี่และดื่มสุราในชุมชน (4) เพื่อให้ผู้ที่อยู่ในระดับการติดบุหรี่และสุราในชุมชนได้รับการส่งต่อในโรงพยาบาล

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สร้างเครือข่าย ก้าวทันข้อมูลในพื้นที่ (2) คัดกรองกลุ่มเป้าหมายเพื่อการบำบัด (3) รุกพื้นที่ ติดตามพฤติกรรมการเสพ ดื่ม ของกลุ่มเป้าหมาย (4) สรุปผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ คัดกรองและบำบัดผู้สูบบุหรี่ สุราในชุมชนเขต อบต.ตุยง ปี 64

รหัสโครงการ 64-L3065-1-02 รหัสสัญญา 13/2564 ระยะเวลาโครงการ 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

คัดกรองและบำบัดผู้สูบบุหรี่ สุราในชุมชนเขต อบต.ตุยง ปี 64 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L3065-1-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางศิริพร จินดารัตน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด