กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการแก้ไขภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ ตำบลเขาตูม ปี2567

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาตูม

1.นางเจ๊ะมัยซัน เต๊ะ
2.นางสาวปาตีมา กาซอ
3.นางสาวสารีผะ มะเกะ
4.นางสาวอามีเนาะ บือโต
5.นายอับดุลเลาะดาแม

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาตูม

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอนามัยแม่และเด็ก

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12(สัปดาห์)(คน)

 

150.00
2 ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ที่สามารถฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง

 

150.00

ภาวะโลหิตจางยังเป็นปัญหาสำคัญในประเทศที่กำลังพัฒนา ภาวะโลหิตจางเกิดขึ้นได้กับคุณแม่ตั้งครรภ์ และมักส่งผลต่อการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ ทำให้เด็กเติบโตช้า คลอกก่อนกำหนด หรือหากคลอดตามกำหนดก็อาจมีหนักน้อยกว่าปกติ สารอาหารที่มีความสำคัญที่ทำให้เกิดภาวะโลหิตจาง และพบได้บ่อยคือ การขาดธาตุเหล็ก เพราะธาตุเหล็กเป็นองค์ประกอบที่สำคัญในการสังเคราะห์ฮีโมโกลบิน ซึ่งทำหน้าที่จับกับออกซิเจนและส่งให้ทุกเซลล์ในร่างกาย หากหญิงตั้งครรภ์เกิดภาวะโลหิตจางแล้วส่งผลกระทบต่อทั้งมารดาและทารก
ซึ่งปัญหาดังกล่าวส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของมารดาและทารกของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาตูมพบว่าอัตราหญิงหญิงตั้งครรภ์เกิดภาวะโลหิตจาง (LAB1) ปี2562 , 2563 คิดเป็น ร้อยละ27.27 , 27.35ซึ่งสูงกว่าเป้าหมาย ( เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 10) จะเห็นว่าภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์มีอัตราเกินเกณฑ์ ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กบรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดและเพื่อเป็นการแก้ไขปัญหางานอนามัยแม่และเด็กอย่างต่อเนื่องจึงได้จัดทำโครงการดังกล่าวขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และสามีมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับกับการปฏิบัติตัว

ร้อยละ 80หญิงตั้งครรภ์และสามี มีความรู้ที่ถูกต้องในการปฏิบัติตัวเพิ่มขึ้น

200.00 150.00
2 2.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงซีดและมีภาวะซีดลดลง

พบภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ไม่เกิน ร้อยละ 10

50.00 48.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 100
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 18/07/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และสามี ไตรมาศที่ 1

ชื่อกิจกรรม
ให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และสามี ไตรมาศที่ 1
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์และสามีในระยะตั้งครรภ์ไตรมาศที่ 1 ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 50 บาท X 20 คน X 10 รุ่น เป็นเงิน 10,000 บาท
2. อาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 25 บาท x 2 มื้อ X 20 คน x 10 รุ่น เป็นเงิน 10,000 บาท
3. ค่าวิทยากร จำนวน 400 บาท x 1คน x 3 ชม. x 10 ครั้ง เป็นเงิน 12,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ทะเบียนรายชื่อกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ
2.ข้อมูลสรุปจำนวนผู้ที่มีความรู้ถูกต้องหลังดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ 3.ข้อมูลสรุประดับความพึงพอใจหลังดำเนินกิจกรรม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
32000.00

กิจกรรมที่ 2 ให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และสามี ไตรมาศที่ 3

ชื่อกิจกรรม
ให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และสามี ไตรมาศที่ 3
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์และสามีในระยะตั้งครรภ์ไตรมาศที่ 3
1ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 50 บาท X 20 คน X 10 รุ่น เป็นเงิน 10,000 บาท
2. อาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 25 บาท x 2 มื้อ X 20 คน x 10 รุ่น เป็นเงิน 10,000 บาท
3. ค่าวิทยากร จำนวน 400 บาท x 1คน x 3 ชม. x 10 ครั้ง เป็นเงิน 12,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ทะเบียนรายชื่อกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ 2.ข้อมูลสรุปจำนวนผู้ที่มีความรู้ถูกต้องหลังดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ
3.ข้อมูลสรุประดับความพึงพอใจหลังดำเนินกิจกรรม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
32000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 64,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>