กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

เยาวชนรุ่นใหม่ ใส่ใจโภชนาการ แบ่งปันอาหารปลอดภัย (UNDP)

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

คณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ 5 ตำบลบ้านน้ำบ่อ

1 นายซัมซูดิง เจ๊ะกอบะ 0819417112
2 นายรุสลาม เวาะฮะ 0993102141
3 นายมูฮัมหมัดกัดดาฟี แวกือจิ 0824452311
4 นางสาวนูรไอนี ตูวี 0870516012
5 นางสาวซูไบด๊ะ เยี่ยมสมุทร 0925106824

หมู่ที่ 5 ตำบลบ้านน้ำบ่อ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม

 

10.00
2 ร้อยละพื้นที่เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน

 

5.00
3 ร้อยละครัวเรือนที่ทำการเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์

 

15.00

การเสริมสร้างสุขภาพในเด็กวัยเรียนจะเป็นพื้นฐานของภาวะสุขภาพตลอดชีวิต ทั้งยังเป็นวัยที่มีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญาในการใฝ่หาความรู้ในอนาคต
จึงจำเป็นต้องเสริมสร้างความรู้ด้านโภชนาการรู้ถึงประโยชน์และคุณค่าของผักที่ปลอดสารพิษและเปลี่ยนพฤติกรรมให้รับปะทานผักเพื่อส่งเสริมโภชนาการของเด็ก จากการสำรวจเด็กที่กินผักในชุมชนแค่ร้อยละ10และเด็กจะชอบกินน้ำอัดลมและน้ำดื่มรสหวานจัดเป็นประจำร้อยละ90 โครงการส่งเสริมโภชนาการเด็กทานผักบ้านน้ำบ่อตะวันออกมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เด็กในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจทางด้านโภชนาการมีทักษะในการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและมีประโยชน์เพื่อเพิ่มการทานผักและลดการดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มสัดส่วนพื้นที่เกษตรอินทรีย์ปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน

ร้อยละพื้นที่เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน เพิ่มขึ้น

5.00 10.00
2 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ทำการเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์

ร้อยละครัวเรือนที่ทำการเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์ เพิ่มขึ้น

15.00 20.00
3 เพื่อเพิ่มการกินผัก ผลไม้ ของคนในชุมชน

ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม เพิ่มขึ้นเป็น

10.00 40.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ผู้นำชุมชน 10
ผู้ปกครองเยาวชน 50

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2022

กำหนดเสร็จ 31/05/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1 เพื่อจัดตั้งคณะทำงาน

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1 เพื่อจัดตั้งคณะทำงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1 เพื่อจัดตั้งคณะทำงานและกำหนดแผนแนวทางในการจัดกิจกรรม ประกอบด้วย ผู้นำชุมชน แกนนำเยาวชนและผู้ปกครอง จำนวน 20 คน
1. ค่าอาหารว่าง จำนวน 20 คน คนละ 25 บาท เป็นเงิน 500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2565 ถึง 1 มกราคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.เกิดคณะทำงานที่ขับเคลื่อนประเด็นด้านโภชนาการในชุมชนอย่างต่อเนื่อง
2. เกิดแผนและแนวทางในการดำเนินการโครงการ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
500.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการและการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการและการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการและการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยแก่เยาวชน จำนวน 50 คน
-ค่าอาหารว่าง 50 คน คนละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 2500 บาท
-ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 50 คน คนละ 50 บาท เป็นเงิน 2500 บาท
-ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 5 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท เป็นเงิน 3000 บาท
-ค่าวัสดุอุปกรณ์ประกอบการอบรม 1,000 บาท
-ค่าป้ายไวนิลโครงการ 750 บาท
- ค่าเอกสารประกอบการอบรม จำนวน 50 ชุด ชุดละ 5 บาท เป็นเงิน 250 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
15 มกราคม 2565 ถึง 15 มกราคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโภชนาการและการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10000.00

กิจกรรมที่ 3 แปลงผักพลังเยาวชน

ชื่อกิจกรรม
แปลงผักพลังเยาวชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

เยาวชน จำนวน 50 คน ร่วมปฏิบัติการปลูกผักปลอดสารพิษ
-ค่าอาหารว่าง 50 คน คนละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 2500 บาท
-ค่าพันธุ์ผัก 500 บาท
-ค่าวัสดุอุปกรณ์ เช่น จอบ บัวรดน้ำ 1000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
16 มกราคม 2565 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เกิดแปลงผักปลอดสารพิษในชุมชน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4000.00

กิจกรรมที่ 4 เรียนรู้เมนูอาหาร จากแปลงผักของหนูสู่โต๊ะอาหาร

ชื่อกิจกรรม
เรียนรู้เมนูอาหาร จากแปลงผักของหนูสู่โต๊ะอาหาร
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ผู้ปกครอง จำนวน 50 คน เรียนรู้การทำเมนูอาหารจากผักโดยใช้วัตถุดิบหลักจากแปลงผักของเยาวชน ผ่านการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
-ค่าอาหารว่าง 50 คน คนละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 2500 บาท
-ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 50 คน คนละ 50 บาท เป็นเงิน 2500 บาท
-ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 5 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท เป็นเงิน 3000 บาท
-ค่าวัตถุดิบและเครื่องปรุงอาหาร 1,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
2 มีนาคม 2565 ถึง 2 มีนาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ปกครองมีความรู้และทักษะในการประกอบอาหารจากผัก

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9000.00

กิจกรรมที่ 5 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2 เพื่อถอดบทเรียนและสรุปผลกิจกรรม

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2 เพื่อถอดบทเรียนและสรุปผลกิจกรรม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2 เพื่อถอดบทเรียนและสรุปผลกิจกรรม โดยมีผู้เข้าร่วมเป็นคณะทำงาน จำนวน 20 คน
1. ค่าอาหารว่าง จำนวน 20 คน คนละ 25 บาท เป็นเงิน 500 บาท
2. ค่าจัดทำรายงานการถอดบทเรียนและสรุปผลกิจกรรม 500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
4 มีนาคม 2565 ถึง 4 มีนาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เกิดรายงานผลการถอดบทเรียนและสรุปผลกิจกรรม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 24,500.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโภชนาการและการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย
2. เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโภชนาการและการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย
3. เกิดแปลงผักปลอดสารพิษในชุมชน
4. ผู้ปกครองมีความรู้และทักษะในการประกอบอาหารจากผัก
5. เกิดรายงานผลการถอดบทเรียนและสรุปผลกิจกรรม


>