กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ส่งเสริมสุขภาพ 3 วัย วิถีใหม่ชุมชนบ้านควนเนียง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

ชมรมสุขภาพดีบ้านควนเนียง

1 .....

2....

3......

4.....

5.....

หมู่ 2 ตำบลรัตภูมิ อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว , แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

 

25.00
2 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

30.00
3 ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

10.00
4 ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ปลอดภัย เพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ

 

40.00
5 ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

 

30.00
6 ร้อยละครัวเรือนที่ทำการเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์

 

40.00
7 ร้อยละของประชากร(อายุมากกว่า 15 ปี) ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง

 

30.00
8 ร้อยละของเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ที่มีภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตาย

 

5.00

จากการศึกษาข้อมูลพบว่าโครงสร้างประชากรของประเทศไทย กลุ่มประชากรผู้สูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทั่งด้านปริมาณและสัดส่วนต่อประชากร จำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้นเช่นนี้ เนื่องมาจาก
การพัฒนาด้านสาธารรณสุขและทางแพทย์ ทำให้อัตราการตายลดลง ผู้สูงอายุจึงมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น แต่ผู้สูงอายุก็ยังได้รับผลกระทบจากการเสื่อมถอยของร่างกายตามวัย รวมทั้งผลของโรคเรื้อรังหรืออุบัติเหตุ สิ่งเหล่านี้ทำให้ผู้สูงอายุดำรงชีวิตอยู่อย่างไม่มีความสุข ผู้สูงอายุ ถือว่าเป็น ปูชนียบุคคลของสังคมที่มีคุณค่ายิ่ง เนื่องจากผ่านประสบการณ์มามาก และเป็นกำลังสำคัญของสังคมมาก่อน มีความรู้มีทักษะ อนุรักษ์ และสืบทอดประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น วิถีชีวิตดั้งเดิม และได้ทำคุณประโยชน์แก่สังคมมาแล้วมากมาย แต่ในปัจจุบัน เป็นสังคมที่มีการแข่งขันในเรื่องการทำงาน บุตรหลานซึ่งเป็นวัยทำงาน จะต้องออกไปนอกบ้าน กว่าจะกลับมาก็ค่ำ ทำให้ความสัมพันธ์ในครอบครัวระหว่าง พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย หรือญาติผู้ใหญ่ ซึ่งเป็นผู้สูงวัยลดน้อยลง มีช่องว่างระหว่างวัย ผู้สูงอายุถูกปล่อยให้อยู่กับบ้าน รู้สึกน้อยใจ ไม่มีคุณค่า ทำให้เกิดโรคซึมเศร้าได้ จากการสำรวจข้อมูลด้านผู้สูงอายุ มีจำนวนผู้สูงอายุที่ติดบ้านและมีปัญหาในเรื่อง นอนไม่หลับ เศร้า และมีปัญหาในการพูดคุยกับลูกหลานในครอบครัว และไม่สามารถไปร่วมกิจกรรมนอกพื้นที่ได้ชุมชน.................ได้เห็นความสำคัญของผู้สูงอายุ วเยาวชน และ วัยทำงาน ซึ่งพื้นฐายสถาบันครอบครัวเป็นสิ่งที่สำคัญ เพื่อให้เกิดกิจกรรมร่วมกันในกลุ่ม 3 วัย เพื่อให้ สุขภาพกาย สุขภาพใจ การปรับตัว การอยู่ร่วมกับ ครอบครัว และสังคม ได้อย่างมีความสุข ในยุค New Normal เพื่อดูแลสุขภาพคนในพื้นที่ หลังวิกฤติไวรัส COVID-19 ซึ่งจะทำให้ผู้สูงอายุ เด็กและเยาวชน กลุ่มวัยทำงานรู้สึกว่าชีวิตมีคุณค่า สามารถทำประโยชน์ให้แก่สังคม มีสุขภาพ และคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ

ผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาทีต่อสัปดาห์) เพิ่มขึ้้น

10.00 40.00
2 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหารปลอดภัยและเพียงพอ

ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ เพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น

40.00 60.00
3 เพื่อลดภาวะภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตายเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ลง

ร้อยละของเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป)  ที่มีภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตาย

5.00 0.00
4 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

30.00 45.00
5 เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

30.00 40.00
6 เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

25.00 40.00
7 เพื่อลด ประชากร(อายุมากกว่า 15 ปี) ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง

ร้อยละของประชากร (อายุมากกว่า 15 ปี) ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง ลดลง

30.00 15.00
8 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ทำการเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์

ร้อยละครัวเรือนที่ทำการเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์ เพิ่มขึ้น

40.00 50.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานเพื่อดำเนินโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะทำงานเพื่อดำเนินโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ประชุมชี้แจงคณะทำงาน 10 คน และมีการวางแผนการดำเนินงาน งบประมาณ
- ค่าอาหารว่าง (10 คน*25บาท * 1 มื้อ = 250 บาท) เป็นเงิน 250 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 มกราคม 2565 ถึง 3 มกราคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ประชุมชี้แจงคณะทำงาน ได้มีความรู้เกี่ยวกับเพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมที่มีความสอดคล้องอย่างสมบูรณ์แบบ
2.ได้มีการจัดเตรียมเอกสารและวางแผนการดำเนินงานโครงการ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมที่มีความสอดคล้องกัน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
250.00

กิจกรรมที่ 2 ประชาสัมพันธ์และรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ประชาสัมพันธ์และรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชาสัมพันธ์โครงการ
ในพื้นที่โดยใช้เสียงตามสายของชุมชน

งบประมาณ

1 ค่าไวนิล ประชาสัมพันธ์ 2x2.5 x 120 บาท 600 บาท

2 ค่าถ่ายเอกสารใบสมัคร 300 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 มกราคม 2565 ถึง 31 มกราคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีการประชาสัมพันธ์เพื่อให้คนในชุมชนทราบ และมีการเข้ามาสมัครเข้าร่วมกิจกรรม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
900.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรม ครอบครัว สุขใจ สุขภาพกาย สุขภาพใจ การปรับตัว การอยู่ร่วมกับ ครอบครัว และสังคม ได้อย่างมีความสุข ในยุค New Normal ครั้งที่ 1

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรม ครอบครัว สุขใจ สุขภาพกาย สุขภาพใจ การปรับตัว การอยู่ร่วมกับ ครอบครัว และสังคม ได้อย่างมีความสุข ในยุค New Normal ครั้งที่ 1
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

งบประมาณที่ใช้

อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการอยู่ร่วมกันกับกลุ่ม 3 วัย

  • การดูแลสุขภาพจิตในยุค new nomal

  • การสื่อสารจากวัยเด็กสู่ผู้สูงอายุ


    อบรมเชิงปฎิบัติการ ศักยภาพและคุณค่าในผู้สูงอายุ เราช่วยได้

  • ศักยภาพของผู้สูงอายุกับการนำมาใช้ประโยชน์

  • ภูมิปัญาท้องถิ่นกับผู้สูงอายุ


  • ระดมความคิด ความต้องการและวางแผนจะดำเนินการเกี่ยวกับกิจกรรม

    • สรุป/ปิดการอบรม

งบประมาณ

1 วิทยากรอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการอยู่ร่วมกันกับกลุ่ม 3 วัย
จำนวน 1 คน x 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท

2 วิทยากรอบรมเชิงปฏิบัติการศักยภาพและคุณค่าในผู้สูงอายุ เราช่วยได้
จำนวน 3 คนละ 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 5400 บาท

3 ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมโครงการ/ผู้ดำเนินการจำนวน 70คน x 1 วันx 1 มื้อๆละ 60 บาท เป็นเงิน 4200 บาท

4 ค่าอาหารว่างสำหรับผู้เข้าร่วมโครงการ/ผู้ดำเนินการจำนวน 70 คน x 1 วันๆ X2 มื้อๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 3500 บาท

5 ค่าวัสดุและอุปกรณ์ในการอบรม เป็นเงิน 1000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
22 มกราคม 2565 ถึง 22 มกราคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เรื่องการอยู่ร่วมกันกับกลุ่ม 3 วัย

  • ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้การดูแลสุขภาพจิตในยุค new nomal

  • ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้การสื่อสารจากวัยเด็กสู่ผู้สูงอายุ


    ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ศักยภาพและคุณค่าในผู้สูงอายุ เราช่วยได้

  • ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ศักยภาพของผู้สูงอายุกับการนำมาใช้ประโยชน์


  • ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ภูมิปัญาท้องถิ่นกับผู้สูงอายุ


  • เกิดการระดมความคิด ความต้องการและวางแผนจะดำเนินการเกี่ยวกับกิจกรรม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15900.00

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรม ครอบครัว สุขใจ สุขภาพกาย สุขภาพใจ การปรับตัว การอยู่ร่วมกับ ครอบครัว และสังคม ได้อย่างมีความสุข ในยุค New Normal ครั้งที่ 2

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรม ครอบครัว สุขใจ สุขภาพกาย สุขภาพใจ การปรับตัว การอยู่ร่วมกับ ครอบครัว และสังคม ได้อย่างมีความสุข ในยุค New Normal ครั้งที่ 2
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมส่งเสริมกิจกรรมทางกายโดยวิถีไทย

กลุ่มเปล่าหมาย

1 คณะทำงาน 11 คน

2 วิทยากร 9 คน

3 กลุ่มเป้าหมายในการเข้าร่วมโครงการ 60 คน

  • กิจกรรม ส่งเสริมโภชนาการอาหารด้วยอาหารพื้นถิ่น
    แบ่งกลุ่ม 3 กลุ่ม ทำกิจกรรม สาธิตโภชนาการอาหารด้วยอาหารพื้นถิ่น

10,800

งบประมาณ

1 ) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม/ค่าอาหารกลางวัน รวม 3กลุ่ม

  • ค่าอาอาหารกลางวัน จำนวน 80 คนๆละ 60 บาท จำนวน 1 มื้อ รวมเป็นเงิน 4,800 บาท

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 80 คนๆละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ รวมเป็นเงิน 4,000 บาท

2 ) ค่าวิทยากร รวม 3กลุ่ม

  • ค่าวิทยากร จำนวน 3 คน จำนวน 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาทเป็นเงิน 10,800 บาท

  • ค่าวิทยากรกลุ่ม จำนวน 6 คนๆ ละ 6 ชั่วโมงๆละ 300 บาท จำนวน 1 วัน เป็นเงิน 10,800 บาท

1 กิจรรมปลูกข้าว เกี่ยวก้อยกัน สุขภาพ กาย จิต ดี

  • ค่าเมล็ดพันธุ์ต้นกล้า 1000 บาท

2 กิจกรรม ทำปุ๋ยหมักชีวภาพ พืช ผัก สวนครัว ห่างไกลสารพิษ

  • ค่าเช่าเครื่องเสียง วันละ 1,000 บาท จำนวน 1 วัน รวมเป็นเงิน 1,000 บาท

  • ค่าเช่าสถานที่ วันละ 500 บาท จำนวน 1 วัน รวมเป็นเงิน 500 บาท

  • จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์สาธิตทำปุ๋ยหมักชีวภาพ พืช ผัก สวนครัว ห่างไกลสารพิษ

  • กระถาง จำนวน 50 กระถาง กระถางละ 30 บาท รวมเป็นเงิน 1,500 บาท

  • ดินหมักอินทรีย์ จำนวน 40 ถุง ๆละ 25 บาท รวมเป็นเงิน 1,000 บาท

  • ค่าพันธ์ุกล้าต้นไม้ พืช ผัก สมุนไพร จำนวน 120 ต้นๆ ละ 10 บาท ใช้สาธิตและมอบให้ผู้เข้าร่วมโครงการนำไปปลูกในบริเวณบ้าน รวมเป็นเงิน 1,800 บาท

  • ปุ๋ยคอก จำนวน 40 กระสอบ กระสอบละ 25 บาท รวมเป็นเงิน 1,000 บาท

  • ถุงดำเพาะต้นไม้ จำนวน 2 กิโลกรัม กิโลกรัมละ 70 บาทรวมเป็นเงิน 140 บาท

3 กิจกรรม ประมง เด็ก พื้นบ้าน จิดกาย ดี ห่างไกลโรค

  • วัสดุอุปกรณ์ ในการสาธิต ทำประมง 2000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
19 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 19 กุมภาพันธ์ 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • คนเข้าร่วมโครงการมีกิจกรรมทางกายเพิ่มมากขึ้น
  • เกิดส่งเสริมสุขภาพจิตคนเข้าร่วมโครงการ สร้างความสัมพันธุ์ในครอบครัว
  • ผู้เข้าร่วมโครงการเรียนรู้การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ พืช ผัก สวนครัว ห่างไกลสารพิษ
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
40340.00

กิจกรรมที่ 5 ชาวควนเนียงสุขภาพดีด้วยเมนูอาหารพื้นถิ่น

ชื่อกิจกรรม
ชาวควนเนียงสุขภาพดีด้วยเมนูอาหารพื้นถิ่น
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ชาวควนเนียงสุขภาพดีด้วยเมนูอาหารพื้นถิ่น
1 กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพด้วยเมนูอาหารพื้นถิ่น
2 ผู้เข้าร่วมโครงการเลือกตัวแทน 5 ครัวเรือน สาธิตเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ อาหารพื้นถิ่น
3 สาธิตกิจกรรมทางกายตามหลักภูมิปัญญาพื้นบ้าน

3.1 กลุ่มปลูกข้าว

3.2 กลุ่ม ปุ๋มหมัก

3.3 กลุ่ม ประมง

งบประมาณ

1 วัสดุ อุปกรณ์ สาธิตเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ อาหารพื้นถิ่น 5 กลุ่ม กลุ่ม ละ 1000 บาท

2 วัสดุ อุปกรณ์ สาธิตกิจกรรมทางกายตามหลักภูมิปัญญาพื้นบ้าน กลุ่ม ละ 500 บาท
3 ค่าวิทยากร จำนวน 1 คน จำนวน 3 ชั่วโมงๆละ 600 บาทเป็นเงิน 1,800 บาท

4 ค่าป้่ายไวนิล 1.2x2.5x120 เป็นเงิน 360 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
14 เมษายน 2565 ถึง 14 เมษายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1 ผู้เข้าร่วมโครงการเรียนรู้วิธีการทำอาการเพื่อสุขภาพและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประำวันได้

2 ผู้เข้าร่วมโครงการและคนในชุมชนมีทางเลือกในการทำกิจกรรมทางกายในพื้นที่ เพื่อส่งเสริมให้มีการทำกิจกรรมทางกายอย่างเพียงพอ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3660.00

กิจกรรมที่ 6 ติดตามประเมินผลโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ติดตามประเมินผลโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1 ติดตามประเมินผลจาการทำแบบสอบถามก่อนและหลังทำโครงการ

2 แบบคัดกรองสุขภาพก่อนและหลังทำโครงการ

ค่าถ่ายเอกสาร  300 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
20 พฤษภาคม 2565 ถึง 20 พฤษภาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1 ผู้ที่เข้าร่วมโครงการมีกิจกรรมทางกายเพิ่มมากขึ้น 2 ผู้ข้าร่วมโครงการมี สุขภาพ กาย จิต ที่ดีขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
300.00

กิจกรรมที่ 7 เกิดครัวเรือต้นแบบ

ชื่อกิจกรรม
เกิดครัวเรือต้นแบบ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

คัดเลือกครัวเรือนต้นแบบในการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยวิถีพื้นบ้าน

ระยะเวลาดำเนินงาน
17 มิถุนายน 2565 ถึง 17 มิถุนายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เกิดครัวเรือต้นแบบการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยวิถีพื้นบ้าน จำนวน 20 ครัวเรือน
เกียรติบัตรพร้อมกรอบ ชุดละ 300 บาท x 20 ชุด เป็นเงิน 6000 บาท

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6000.00

กิจกรรมที่ 8 สรุปโครงการส่งกองทุนฯ

ชื่อกิจกรรม
สรุปโครงการส่งกองทุนฯ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

สรุปโครงการส่งกองทุนฯ

ระยะเวลาดำเนินงาน
12 สิงหาคม 2565 ถึง 12 สิงหาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เกิอดรูปเล่มฉบับสมบูรณ์

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 67,350.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>