กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายของพนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านใหม่ อำเภอบางใหญ่

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายของพนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านใหม่ อำเภอบางใหญ่

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองสาธารณสุขและสิ่่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านใหม่

นายบวรเอมเสม (ประธาน)
นางสาวปัณณธร นวลนุ่ม(กรรมการ)
นางสาวเบญวรรณ บุญวันท์ (กรรมการ)
นางสาวปุณรัศมิ์ กีรติดุสิตวิทย์ (กรรมการและเลขานุการ)
นายมานัส จั่นเพ็ชร์ (กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ)

ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านใหม่

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านใหม่ บุคลากรทั้งข้าราชการ พนักงานจ้าง และคณะผู้บริหาร จำนวน 60 คน ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมทำงานในสำนักงานจากแบบสอบถามเรื่องการมีกิจกรรมทางกายพบว่า ร้อยละ ๗๐ มีการออกกำลังกาย น้อยกว่า 3 ครั้งต่อสัปดาห์ จากกกรประเมินภาวะสุขภาพพบว่าร้อยละ ** มีค่าไขมันรอบเอวเกินปกติ ร้อยละ** มีภาวะเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงซึ่งปัจจัยดังกล่าวมีผลกับภาวะสุขภาพของพนักงาน เพื่อเป็นการส่งเสริมให้พนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านใหม่มีภาวะสุขภาพที่ดี มีกิจกรรมทางกายเพิ่มมากขึ้น จึงกำหนดจัดทำโครงการขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอของพนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านใหม่

ร้อยละของพนักงานองค์การบริหารส่วนตำบล ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

60.00 3.00
2 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายในสถานที่ทำงาน

ร้อยละหน่วยงาน  ที่มีกิจกรรมส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย เช่น การออกกำลังกาย การมีกิจกรรมการเคลื่อนไหวระหว่างการทำงาน

60.00 3.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 "พักเบรกสร้างสุข สนุกขยับกาย"

ชื่อกิจกรรม
"พักเบรกสร้างสุข สนุกขยับกาย"
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดให้มีการเคลื่อนไหวระหว่างทำงาน ช่วงเวลา 10.30 น. และ 14.30 น. งบประมาณ ไม่มี 2.หมุนเวียนให้บุคลกรแต่ละกองนำการเคลื่อนไหว 1. งบประมาณโครงการฯ เป็นเงิน 10,000.-บาท
2.  ค่าจัดทำแผ่นพับประชาสัมพันธ์ เป็นเงิน 3,000.-บาท
3.  ค่าจัดทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ในสำนักงาน เป็นเงิน 1,000.-บาท 4. และวัสดุอุปกรณ์อื่นๆที่เกี่ยวข้องในโครงการฯ เป็นเงิน 6,000.- บาท ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยได้

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

บุคลากรมีการเคลื่อนไหวในระหว่างทำงาน มีความรู้ความเข้าใจในการออกกำลังกาย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ไขมันรอบเอวลดลง ภาวะสุขภาพดีขึ้น ลดปัญหาโรคออฟฟิสซินโดรม


>