กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงในชุมชน ปีงบประมาณ 2565

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงในชุมชน ปีงบประมาณ 2565

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองฮาง

พื้นที่ตำบลธาตุ 15 หมู่บ้านเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านหนองฮาง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

จากการลงตรวจคัดกรองสุขภาพประชาชนในพื้นที่ อายุ 35 ปีขึ้นไป แบบ Verbral screening และเจาะเลือด ในชุมชน 15 หมู่บ้าน ปีงบประมาณ 2565 พบว่า มีประชาชน อายุ 65 ปีขึ้นไป เข้าร่วมคัดกรองจำนวน 799 คน ปกติไม่เสี่ยงต่อโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง 315 คน ร้อยละ 39.42 เสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวาน 215 คน ร้อยละ 26.91 เสี่ยงต่อการเป็นโรคความดันโลหิตสูง 174 คน ร้อยละ 21.78 เสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง 95 คน ร้อยละ 11.89

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ปรับเปลี่ยน 3 อ.2 ส.ไม่เป็นกลุ่มป่วย
2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มปกติ มีการดูแลตนเองที่ถูกต้อง ตามหลัก 3 อ. 2 ส.
3. เพื่อให้เครือข่ายในชุมชนมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันออกแบบกิจกรรม ตามหลัก 3 อ. 2 ส. ดูแลกลุ่มป่วย กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มปกติ ตามบริบทชุมชน

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. จัดทำโครงการเสนอผู้บริหารขออนุมัติโครงการ 2. ประชุมโครงการแก่ผู้นำชุมชน, อสม. ประชาชนในทุกหมู่บ้าน และเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องเพื่อทำความเข้าใจและขอความร่วมมือในการดำเนินงาน 3. ประสานงานกับหน่วยงาน /องค์กรที่เกี่ยวข้อง 4. จัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ชื่อกิจกรรม
1. จัดทำโครงการเสนอผู้บริหารขออนุมัติโครงการ 2. ประชุมโครงการแก่ผู้นำชุมชน, อสม. ประชาชนในทุกหมู่บ้าน และเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องเพื่อทำความเข้าใจและขอความร่วมมือในการดำเนินงาน 3. ประสานงานกับหน่วยงาน /องค์กรที่เกี่ยวข้อง 4. จัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าป้ายโครงการ                            เป็นเงิน 500 บาท
    • ค่าอาหารว่างจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ตามหลัก 3 อ. 2 ส. ออกแบบกิจกรรมตามบริบทพื้นที่ จำนวน 484 คนX25 บาท X6 ครั้ง    เป็นเงิน 72,600 บาท
    • ค่าอาหารว่าง เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้สรุป/ถอด บทเรียนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง กลุ่มเสี่ยง จำนวน 484 คน X 25 บาท              เป็นเงิน 12,100 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
85200.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 85,200.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 484 คน ไม่เป็นกลุ่มป่วย
2. ประชาชนกลุ่มปกติในชุมชน 15 หมู่บ้าน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. 2 ส.ตามบริบทชุมชน


>