กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะแพน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประจำปี 2565

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะแพน

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสวนโหนด

หมู่ 1 ,หมู่ 6 ,หมู่ 7 , หมู่ 9 ต.ตะแพน อ.ศรีบรรพต จ.พัทลุง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) การดำเนินชีวิตของประชาชนในชีวิติปัจจุบันได้มีการเปลี่ยนแปลง มีการแข่งขันสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัว นิยมวัฒนธรรมตะวันตกมากขึ้น จึงทำให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง เช่น การเร่งรีบกับการทำงาน ปริโภคอาหารโดยไม่คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการ ขาดการออกกำลังกาย เครียด ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วย ด้วยโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข เป็นกลุ่มโรคที่มีปัจจัยสาเหตุการนำไปสู่โรคจากปัจจัยเสี่ยงร่วม และเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ซึ่งโรคนี้สามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น การรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ และมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม จากการดำเนินงานคัดกรองประชาชน อายุ 35 ปีขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านสวนโหนด ในปีงบประมาณ 2562 จำนวน 1,107 ราย พบว่ามีภาวะความดันโลหิตจากการคัดกรอง (ไม่รวมผู้ป่วย)อยู่ในกลุ่มแฝง/เสี่ยง (SBP = 120-139 mmHg. หรือ DBP = 80-89 mmHg.) จำนวน 302 ราย ,มีภาวะความดันโลหิตจากการคัดกรอง (ไม่รวมผู้ป่วย) อยู่ในกลุ่มสูง/สงสัยเป็นโรค (SBP >= 140 mmHg. หรือ DBP >= 90 mmHg.) จำนวน 55 ราย คิดเป็นร้อยละ27.28และ4.96ตามลำดับ, มีภาวะเบาหวานจากการคัดกรอง (ไม่รวมผู้ป่วย) อยู่ในกลุ่มแฝง/เสียง (100 - 125 mg/dl.)จำนวน 117 ราย ,มีภาวะเบาหวานจากการคัดกรอง (ไม่รวมผู้ป่วย) อยู่ในกลุ่มสูง/สงสัยเป็นโรค (>= 126 mg/dl.) จำนวน 15 ราย คิดเป็นร้อยละ10.56และ1.35ตามลำดับ ดังนั้น รพ.สต.บ้านสวนโหนด ได้ตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในกลุ่มดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการคัดกรองเพื่อควบคุมและป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2565 เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดการเกิดโรคเรื้อรังได้

10.56

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อ 1 เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงอย่างต่อเนื่อง ข้อ 2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง ข้อ 3 เพื่อลดอัตราป่วย จากกลุ่มโรค Metabolic

ข้อ 1 ประชาชนในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านสวนโหนดได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตร้อยละ 90

ข้อ 2 กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 50 มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงได้อย่างถูกต้อง

ข้อ 3 ลดอัตราป่วย จากกลุ่มโรค Metabolic ในอัตรา 200 ต่อ 1,000 ประชากร

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,157
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 สำรวจกลุ่มเป้าหมาย/เขียนโครงการและขอนุมัติข้อ5 ติดตามประเมินผล

ชื่อกิจกรรม
สำรวจกลุ่มเป้าหมาย/เขียนโครงการและขอนุมัติข้อ5 ติดตามประเมินผล
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. แถบตรวจเบาหวาน 800 แถบ กล่องละ 50 แถบ จำนวน 16 กล่องๆ ละ 850 บาท เป็นเงิน 13,600 บาท
  2. เข็มเจาะ 800 เล่ม กล่องละ 200 เล่ม จำนวน 4 กล่อง ราคากล่องละ 750 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
  3. เครื่องวัดความดันโลหิตแบบพกพา จำนวน 4 เครื่อง ๆ ละ 3,500 บาท เป็นเงิน 14,000 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 30,600 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
2 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
30600.00

กิจกรรมที่ 2 ออกพื้นที่เพื่อคัดกรองกลุ่มเสี่ยง

ชื่อกิจกรรม
ออกพื้นที่เพื่อคัดกรองกลุ่มเสี่ยง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
11 พฤศจิกายน 2565 ถึง 22 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 จัดกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองให้เหมาะสม

ชื่อกิจกรรม
จัดกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองให้เหมาะสม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
9 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 9 กุมภาพันธ์ 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 4 ติดตามกลุ่มเสี่ยงเพื่อประเมินพฤติกรรมซ้ำ ทุก 3 เดือน

ชื่อกิจกรรม
ติดตามกลุ่มเสี่ยงเพื่อประเมินพฤติกรรมซ้ำ ทุก 3 เดือน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ติดตามกลุ่มเสี่ยงเพื่อประเมินพฤติกรรมซ้ำ ทุก 3 เดือน

ระยะเวลาดำเนินงาน
9 มิถุนายน 2565 ถึง 9 มิถุนายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 5 ติดตามประเมินผล

ชื่อกิจกรรม
ติดตามประเมินผล
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 30,600.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้อง
2.กลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและไม่เกิดโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและมีสุขภาพดีอัตราการเกิดโรคเรื้อรังลดลง
3.เกิดการประชาสัมพันธ์การมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมไปยังประชาชนกลุ่มอื่นๆ


>