กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตำมะลัง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ ส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียนโรงเรียนบ้านตำมะลังใต้ ปีงบประมาณ 2566

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตำมะลัง

โรงเรียนบ้านตำมะลังใต้

1.นางอานีญาเปรมใจ ครู ค.ศ.3 รักษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียน
2. นางคัทลียา จิเบ็ญจ๊ะ ตำแหน่ง ครูชำนาญการพิเศษ
3. นางซูเฟียนา ดาแลหมัน ตำแหน่ง ครู คศ.2
4. นางปัญญารัตน์ โพธิ์ดก ตำแหน่ง ครู คศ.1
5. นางสาวสุไลยา เกลี้ยงสัน ตำแหน่ง ครู

โรงเรียนบ้านตำมะลังใต้ หมู่ที่ 3 ตำบลตำมะลัง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว , แผนอนามัยและสิ่งแวดล้อม

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 โรคเหา เป็นโรคที่พบบ่อยมากในกลุ่มนักเรียนระดับประถมศึกษาโดยเฉพาะนักเรียนหญิง จากการตรวจสุขภาพนักเรียนหญิง จำนวน30 คน ในปีงบประมาณ 2566 พบว่าเป็นเหา 25 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33 เกิดจากการ ไม่รักษาความสะอาดของร่างกาย เป็นโรคที่น่ารังเกียจสำหรับคนทั่วไปนอก

 

83.33

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้ความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับโรคเหา การดูแลตนเองและการรักษาเหา

1.ร้อยละ 70 นักเรียนที่เป็นเหามีความรู้เกี่ยวกับโรคเหา การดูแลตัวเองและรักษาเหา

70.00 0.00
2 ข้อที่ 2 เพื่อรักษาและควบคุมการระบาดของโรคเหาและหายจากการเป็นเหา

2.ร้อยละ 70 ของนักเรียนที่เป็นเหาได้รับการกำจัดเหาและหายจากการเป็นเหา

70.00 0.00
3 ข้อที่3 เพื่อให้นักเรียนสามารถใช้สมุนไพรไทยในการดูแลสุขภาพตนเองได้
  1. ร้อยละ 70 ของนักเรียนสามารถใช้สมุนไพรไทยในการดูแลสุขภาพตนเองได้
70.00 0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 109
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 22/03/2023

กำหนดเสร็จ 15/08/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมการกำจัดเหาด้วยสมุนไพร

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมการกำจัดเหาด้วยสมุนไพร
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องเหา
  2. สรุปทำแผนผังความคิด 3.กิจกรรมกำจัดเหาด้วยสมุนไพร

  3. ค่าอาหารกลางวัน (48 คน × 50 บาท × 1 มื้อ) = 2,400 บาท

  4. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (48 × 25 × 2 มื้อ) = 2,400 บาท
  5. ค่าตอบแทนวิทยากรกลุ่ม (1 คน × 600 × 3 ชม.) = 1,800 บาท
  6. ค่าจัดทำป้ายไวนิลโครงการ ขนาด2x2.5เมตร (1 ป้าย × 675)=675 บาท
  7. ภาพประกอบการเรียนรู้ ขนาด 1x1เมตร (5 แผ่น × 100 บาท) = 500 บาท
  8. กระดาษบรู๊ฟ (10 แผ่นๆ ละ × 5 บาท) = 50 บาท
  9. ปากกาเคมี (30 ด้าม × 15 บาท) = 450 บาท
  10. ป้ายให้ความรู้การกำจัดเหาด้วยสมุนไพร ขนาด1×3 เมตร (1 ป้าย × 450)=450 บาท
  11. สมุดบันทึก (48 เล่ม × 10 บาท) = 480 บาท 10.ปากกาสีเมจิค (48เล่ม × 10 บาท) = 480 บาท 11.ค่าแฟ้มสอด (48 เล่ม x 15บาท) =720 บาท 12.กระดาษ A4 (1 รีม x 135บาท ) =135 บาท
  12. หน้ากากอนามัย(1 กล่อง× 150บาท) =150 บาท 14.ถุงมือยาง ( 2 กล่อง × 250) =500 บาท 15.วัสดุอุปกรณ์กำจัดเหาด้วยสมุนไพร(1 ชุด× 1000บาท )=1,000 บาท รวมเป็นเงิน 12,190 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
20 มีนาคม 2566 ถึง 15 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12210.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการทำสมุนไพรไทย

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการทำสมุนไพรไทย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.อบรมให้ความรู้ การทำสมุนไพรไทย 2.กิจกรรมทำสมุนไพรไทย
1. ค่าอาหารกลางวัน (61 คน × 50 บาท × 1 มื้อ) = 3,0๕0 บาท 2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (61คน × 25บาท × 2 มื้อ) = 3,050 บาท 3. ค่าตอบแทนวิทยากรกลุ่ม (1 คน × 600บาท × 3 ชม.) = 1,800 บาท 4. ค่าจัดทำป้ายไวนิลกิจกรรมสมุนไพรไทย ขนาด  2x2.5  เมตร (1 ป้าย × 675บาท)=675 บาท 5. วัสดุอุปกรณ์การทำสมุนไพรไทย  (1 ชุด× 1,000บาท )=1,000 บาท 9.ป้ายให้ความรู้เรื่องการทำสมุนไพรไทย  ขนาด  1×3 เมตร (3 ป้าย × 450)=1,350 บาท 10.ขวดแก้วขนาด 15 กรัม  (61 ขวด × 15 บาท) =915 บาท 11. วัสดุอื่นๆที่เกี่ยวข้อง    จำนวน   1,500 บาท                                                        รวมเป็นเงิน 13,340   บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
10 พฤษภาคม 2566 ถึง 15 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10840.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 23,050.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. นักเรียนสามารถดูแลรักษาความสะอาดร่างกายของตนเองได้ถูกต้อง
2. นักเรียนสามารถนำสมุนไพรท้องถิ่นมาใช้ในการกำจัดเหาได้
3. นักเรียนสามารถใช้สมุนไพรไทยในการดูแลสุขภาพตนเองได้


>