กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทะนง รหัส กปท. L3404

อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพในพื้นที่ตำบลทะนง ปี 2567
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
ชมรมคุ้มครองผู้บริโภคตำบลทะนง
กลุ่มคน
นางสุภาพรนาคพงษ์
3.
หลักการและเหตุผล

จากการเฝ้าระวังสินค้าสุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐาน และการออกตรวจสถานประกอบการในพื้นที่ตำบลทะนงปี 25656พบว่ามีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์เสริมความงามที่มีสารอันตรายจำหน่ายยาชุด สินค้าหมดอายุเกลือที่ไม่ได้มาตรฐานมีสารไอโอดีนต่ำ ยังคงมีจำหน่ายอยู่ในพื้นที่ ส่วนหนึ่งเป็นผลอันเนื่องมาจากการที่ประชาชนขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสิทธิของผู้บริโภค ทำให้ไม่มีการตื่นตัวในการป้องกันตนเอง ทำให้ผู้ประกอบการไม่เกรงกลัวต่อกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคและนำผลิตภัณฑ์อาหารที่ไม่ได้มาตรฐานผลิตภัณฑ์เสริมความงามที่มีสารอันตรายมาจำหน่ายอย่างต่อเนื่อง และประชาชนขาดความรู้ในเรื่องของอันตรายจากการใช้ยาชุดว่ามีอันตรายต่อร่างกาย โดยเฉพาะเมื่อใช้ติดต่อกันอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน อีกทั้งยาชุดสามารถหาซื้อได้ง่ายในร้านชำในหมู่บ้าน ชาวบ้านใช้ยาชุดหรือยาลูกกลอนในการรักษาอาการปวดเมื่อยโดยชาวบ้านเรียกว่ายากระจายเส้น ในพื้นที่ตำบลทะนง จากการสำรวจและรวบรวมข้อมูลร้านค้าร้านชำ ร้านค้าแผงลอย และร้านเสริมสวย มีจำนวนร้านทั้งหมด 118 ร้าน แบ่งออกเป็น ร้านชำ 60 ร้าน ร้านแผงลอย 29 ร้าน และร้านเสริมสวย 29 ร้าน ร้านที่ผ่านการอบรมผู้ประกอบการร้านค้าและร้านค้าแผงลอยแล้ว จำนวน 44 ร้าน และร้านที่ยังไม่ได้เข้าร่วมการอบรมผู้ประกอบการร้านค้าและร้านค้าแผงลอย จำนวน 74 ร้าน แบ่งออกเป็น ร้านชำ 46 ร้าน ร้านแผงลอย 16 ร้าน และร้านเสริมสวย 12 ร้าน ดังนั้นเพื่อการดำเนินการงานคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่ตำบลทะนงอย่างมีประสิทธิภาพและเพื่อเพิ่มความรู้ในเรื่องการเลือกผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัย และสิทธิผู้บริโภค สารปนเปื้อน 5 ชนิด มาตรฐานเกลือไอโอดีน แก่แกนนำ อสม. ผู้นำชุมชน อสม.น้อย ผู้ประกอบการร้านค้า ชมรมคุ้มครองผู้บริโภคตำบลทะนงจึงได้จัดทำโครงการการพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพในพื้นที่ตำบลทะนง ปี 2567 ขึ้นโดยมีการส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมขององค์กรชุมชนให้มีส่วนร่วมในการออกตรวจมาตรฐานร้านค้าและแนะนำพัฒนาสถานประกอบการในชุมชนให้ได้มาตรฐานพัฒนาฐานข้อมูลและสนับสนุนข้อมูลวิชาการต่างๆ เช่นสิทธิของผู้บริโภคความรู้เบื้องต้นเกี่ยวข้องการคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาอาหารเครื่องสำอางสถานพยาบาลการโฆษณาและฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพให้กับประชาชนในพื้นที่

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการชมรมคุ้มครองผู้บริโภคระดับตำบล
    รายละเอียด
    • ค่าอาหารว่าง(1มื้อ) 44 คน x 25 บาท x 2 ครั้ง เป็นเงิน  2,200 บาท
    งบประมาณ 2,200.00 บาท
  • 2. กิจกรรมที่ 2 อบรม แกนนำอสม. ผู้นำชุมชน, คกก.คบ, ผู้ประกอบการร้านค้า แผงลอยจำหน่ายอาหาร
    รายละเอียด
    • ค่าอาหาร(1มื้อ)และอาหารว่าง(2มื้อ) 50 คน x 100 บาท   เป็นเงิน  5,000 บาท
    • ค่าวิทยากร 1 คน 6 ชม.ๆละ 600 บาท เป็นเงิน  3,600 บาท
    งบประมาณ 8,600.00 บาท
  • 3. กิจกรรมที่ 3 ตรวจมาตรฐานร้านค้าในพื้นที่ พร้อมให้คำแนะนำในการพัฒนามาตรฐานร้านค้า
    รายละเอียด

    การเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหาร และตรวจมาตรฐานร้านค้า โดยเจ้าหน้าที่ แกนนำ อสม.     คกก.คบ. ผู้นำชุมชนที่ผ่านการอบรมแล้ว ร่วมกับเจ้าหน้าที่ตำรวจ - ตรวจร้านชำ - ตรวจร้านแผงลอยจำหน่ายอาหาร - ตรวจตลาดนัด - สุ่มตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร 5 ชนิด - ตรวจเกลือไอโอดีน - ร้านเสริมสวยและร้านจำหน่ายเครื่องสำอาง ค่าวัสดุ   - ชุดตรวจบอแรกซ์ 1 กล่อง กล่องละ 220 บาท เป็นเงิน    220 บาท   - ชุดตรวจสารกันรา 1 กล่อง กล่องละ 250 บาท เป็นเงิน    250 บาท   - ชุดทดสอบน้ำดื่ม (อ 11) 10 ชุด ชุดละ 45 บาท เป็นเงิน    450 บาท   - ชุดทดสอบสารฟอกขาว 1 กล่อง กล่องละ 150 บาท เป็นเงิน    150 บาท   - ชุดทดสอบสารฟอร์มาลีน 10 กล่อง กล่องละ 50 บาท เป็นเงิน    500 บาท   - ค่าจ้างเหมารถจักรยานยนต์ 22 คัน ๆละ 200 บาท x 3 วัน เป็นเงิน 13,200 บาท   - ค่าจ้างเหมาทำสติ๊กเกอร์สุรา,ยาสูบ 100 แผ่นๆละ 2.80 บาท  (สติ๊กเกอร์สุรา ขนาด3012, สติ๊กเกอร์ยาสูบ ขนาด2712)          เป็นเงิน  2,080  บาท

    งบประมาณ 16,850.00 บาท
  • 4. กิจกรรมที่ 4 อบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดสารเคมีในเลือด
    รายละเอียด
    • ค่าอาหาร(1มื้อ)และอาหารว่าง(2มื้อ)ของกลุ่มเกษตรกรและผู้บริโภคที่มีสารเคมีในเลือดอยู่ในระดับเสี่ยงและไม่ปลอดภัย 70 คน x 100 บาท เป็นเงิน  7,000 บาท
    • ชุดทดสอบยาฆ่าแมลงในผัก 1 ชุด ชุดละ 1,250 บาท เป็นเงิน  1,250 บาท
    • ชุดทดสอบโคลิฟอร์มแบคทีเรียในอาหาร (SI 2) 250 ชุด ชุดละ 25 บาท เป็นเงิน  6,250 บาท
    • ชุดทดสอบสารพิษตกค้างในกระแสเลือด cholinesterase 10 ชุด ๆละ 520 บาท เป็นเงิน  5,200 บาท
    งบประมาณ 19,700.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

ตำบลทะนงอำเภอโพทะเลจังหวัดพิจิตร

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 47,350.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1 คณะกรรมการงานคุ้มครองผู้บริโภคระดับตำบลมีการประชุมติดตามผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง 2 แกนนำ อสม. คกก.คบ ผู้นำชุมชน ผู้ประกอบการร้านชำ แผงลอย มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการเลือกผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัย สิทธิผู้บริโภค มาตรฐานโรงครัว/โรงอาหารในโรงเรียน การใช้ยาที่ปลอดภัยในชุมชน และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 3 ผู้ประกอบการร้านค้าในพื้นที่ทุกประเภทได้รับการตรวจประเมินมาตรฐานทุกร้าน 4 กลุ่มเกษตรกรและผู้บริโภคที่มีสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับเสี่ยงและไม่ปลอดภัยได้รับการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมส่งผลให้สารเคมีในเลือดลดลงอยู่ในระดับปกติหรือปลอดภัย

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทะนง รหัส กปท. L3404

อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทะนง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทะนง รหัส กปท. L3404

อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 47,350.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................