2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
"สุขภาพพนักงาน และเจ้าหน้าที่ คือ พื้นฐานขององค์กรแห่งความสุข แต่ก่อนอาจจะไม่มีคนสนใจมากนัก แต่ด้วยปัจจุบันระบบเศรษฐกิจ และสังคม ทำให้หลาย ๆ องค์กร ทำงานอยู่ภายใต้ความกดดัน ความเครียด มีผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ในองค์กร เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคมะเร็งต่าง ๆ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จึงทำให้หลายคนเริ่มสนใจสุขภาพมากขึ้น"ปัจจัยสำคัญที่จะเป็นกุญแจนำไปสู่การเสริมสร้างองค์กรให้ได้อย่างยั่งยืนว่า อันดับแรกคือ ตัวผู้นำองค์กร ต้องมีวิสัยทัศน์ก้าวไกล ให้ความสำคัญเรื่องสุขภาพของพนักงานในองค์กรเป็นอันดับต้นๆ มีความมั่นคงพอที่จะกล้าลงทุนเรื่องสุขภาพมากกว่าการแสวงหาผลกำไร สองคือ นโยบายขององค์กรหรือบริษัทต้องชัดเจน และต้องมีแผนการทำงานด้านสุขภาพเข้ามารองรับอันดับต่อมาคือ การมีแกนนำและ ทีมเวิร์กที่เข้มแข็ง กระตือรือร้นในการสรรค์สร้างกิจกรรมเพื่อสุขภาพความสมัครสมานสมานมัคคี ไม่แบ่งพวกแบ่งฝ่าย ร่วมกันทำงานเอาเป้าหมายขององค์กรเป็นที่ตั้ง นอกจากนี้ ควรสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และควรสร้างแรงจูงใจให้กับพนักงานอยู่เสมอ ท้ายสุดคือ มีการติดตาม ควบคุมการทำงานอยู่ตลอดเวลา สร้างองค์กรให้มีความสุข หรือสร้างองค์กรแห่งความสุข ในหลาย ๆ มิติ อันได้แก่ประกอบด้วย สุขภาพดี(Happy Body) น้ำใจงาม (Happy Heart) สังคมดี(Happy Society) ผ่อนคลาย (Happy Relax) พัฒนาสมอง (Happy Brain) ศาสนาและศีลธรรม (Happy Soul) ปลอดหนี้(Happy Money) และครอบครัวดี(Happy Family) ซึ่งองค์ประกอบเหล่านี้ เป็นต้นทุนของการมีสุขภาพดี สามารถป้องกันการเกิดโรคต่าง ๆ มากม่าย อันได้แก่ โรคในกลุ่มโรคไม่ติดต่อ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคระบบกล้ามเนื้ออ่อนแรง โรคไขมันในเส้นเลือด และโรคหัวใจ ซึ่งเจ้าหน้าที่ส่วนใหญ่พบในกลุ่มวัยแรงงานและกลุ่มผู้สูงอายุ ข้อมูลส่วนหนึ่งเกิดจากความเครียดและการขาดการออกกำลังกายและบริโภคอาหารไม่ถูกต้องก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพ ซึ่งถ้าเจ้าหน้าที่ในกลุ่มเสี่ยงได้บริโภคอาหารอย่างถูกสุขลักษณะ และมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอสามารถทำงานกับเพื่อนร่วมงานได้อย่างมีความสุข ก็สามารถลดปัญหาดังกล่าว
การจัดโครงการให้พนักงานสุขภาพดี สร้างองค์กรเป็นสุข ภายใต้โครงการ จิจแจ่มใส ใจเบิกบาน คนควนโพธิ์ทำงานมีความสุข ปี 2567 ขึ้น ผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพ กองทุนหลักระกันสุขภาพ อบต.ควนโพธิ์ เป็นกองทุนด้านสุขภาพที่ดูแลสุขภาพและเปิดโอกาสให้คนไทยทุกคนทุกสิทธิทำโครงการเพื่อรับสนับสนุนเงินได้โดยการจัดอบรมให้ความรู้ การบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ และหลักการออกกำลังกาย เพื่อเห็นความสำคัญของการออกกำลังกายผ่อนคลาย ไม่จำเจ การเสริมสร้างความสามัคคี การปรับปรุงด้านนโยบายและแนวปฏิบัติขององค์กรการสร้างสิ่งแวดล้อมการทำงานที่เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดี ให้บังเกิดผลต่อสุขภาพที่ดีต่อคนทำงานในองค์กร
4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 01/09/2024
กำหนดเสร็จ 31/12/2024
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
งบประมาณสามารถถัวเฉลี่ยจ่ายกันได้ทุกรายการ
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?1.เจ้าหน้าที่มีสุขภาพแข็งแรง ห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้องรัง
2. เจ้าหน้ามีประสิทธิภาพในการทำงานเพิ่มขึ้น
3. สร้างความเข้มแข็งในองค์กร(Team work)