กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เรียง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

การบริหารจัดการและพัฒนาระบบกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลเรียง ประจำปีงบประมาณ 2568

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เรียง

องค์การบริหารส่วนตำบลเรียง

ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลเรียง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ นับเป็นนวัตกรรมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทยในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยองค์กรปกครองท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพ และประสานหน่วยงาน

 

29.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 15. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดความสำเร็จ เป้าหมาย 15.1 เพื่ออนุมัติแผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ (1) มีการประชุมกรรมการ เพื่อพิจารณาและติดตามงาน (2) โครงการที่เสนอได้รับการพิจารณาและจัดสรรงบ -4 ครั้ง/ปี -80% 15.2 เพื่อจัดซื้อวัสดุ/ครุภัณฑ์สำนักงานสนับสนุนการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ วัสดุ/ครุภัณฑ์สำนักงานฯสำหรับการบริหารจัดการกองทุนฯถูกจัดซื้อตามแผนงานที่วางไว้ 100% 15.3 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ/อนุกรรมการและเจ้าหน้าที่บุคลากรสำหรับดำเนินงานและช่วยงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ให้เกิดประสิทธิภาพ - คณะกรรมการ/อนุกรรมการและเจ้าหน้าที่บุคลากรได้รับการพัฒนาศักยภาพตามแผนงานและกิจกรรมที่วางไว้ คณะกรรมการได้รับการพัฒนาตามแผน100% 15.4 เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ - กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่มีการดำเนินงานเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ ครอบคลุมครบวัตถุประสงค์
  1. วิธีดำเนินการ

การดำเนินงาน ต.ค67 พ.ย67 ธ.ค67 ม.ค68 ก.พ 68 มี.ค68 เม.ย68 พ.ค68 มิ.ย68 ก.ค68 ส.ค68 ก.ย68 1.เสนอแผนงานและโครงการ 25
2.ปฐมนิเทศผู้รับทุน 26
3.ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ 17 31 10 15 17 3 4.ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC 31 10 17 3 5.ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯฝ่ายตรวจสอบภายใน 25
6.กิจกรรมศึกษาดูงานและอบรม พัฒนาศักยภาพกรรมการ อนุกรรมการ คณะทำงาน และเจ้าหน้าที่กองทุนฯ 26-27
7.การควบคุมกำกับติดตามการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ 21
8.กิจกรรมนำเสนอและสรุปผลงานกองทุนฯ 3

29.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 16/12/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการบริหารจัดการและพัฒนาระบบกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลเรียง ประจำปีงบประมาณ 2568

ชื่อกิจกรรม
โครงการบริหารจัดการและพัฒนาระบบกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลเรียง ประจำปีงบประมาณ 2568
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. รายละเอียดกิจกรรมและงบประมาณ
    ชื่อกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย (คน)  งบประมาณ    ระบุวัน/ช่วงเวลา 1.ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ  -คณะกรรมการที่ปรึกษา19 คน --คณะอนุกรรมการฝ่ายเลขานุการ 5 คน -ผู้เข้าร่วมประชุมอื่นๆ - ค่าตอบแทนการประชุมกรรมการ 19 คน x 400 บาท x 6 ครั้ง = 45,600 บาท

- ค่าตอบแทนการประชุมสำหรับคณะอนุกรรมการฝ่ายเลขานุการ จำนวน 5 คน x 300 บาท x 6 ครั้ง = 9,000 บาท

                           รวมเป็นเงิน 54,600 บาท  17 ธ.ค.67 31 ม.ค.67 31 ม.ค.68 15 พ.ค.68 10เม.ย.68 3 ก.ย.68

2.ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC  -คณะอนุกรรมการ 10 คน -คณะอนุกรรมการฝ่ายเลขานุการ 2 คน     - ค่าตอบแทนการประชุมอนุกรรมการ LTCจำนวน 10
คน x 300 บาท x 4 ครั้ง = 12,000  บาท - ค่าตอบแทนการประชุมสำหรับคณะอนุกรรมการฝ่ายเลขานุการ จำนวน 2 คน x 300 บาท x 4 ครั้ง = 2,400 บาท                            รวมเป็นเงิน 14,400 บาท  31 ม.ค.68 15 พ.ค.68 10เม.ย.68 3 ก.ย.68

3.พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ อนุกรรมการ คณะทำงาน และคณะอนุLTC     คณะกรรมการ อนุกรรมการ คณะทำงาน และคณะอนุLTC รวม 20 คน

กิจกรรมพัฒนาศักยภาพกรรมการ อนุกรรมการ คณะทำงาน และเจ้าหน้าที่กองทุนนอกสถานที่

- ค่าวิทยากรบรรยาย 400 บาท x 6 ช.ม.=24,00  บาท - ค่าอาหารมื้อกลางวันและมื้อเย็นจำนวน 20 คน x 3 มื้อ x 200 บาท=  12,000  บาท - ค่าอาหารมื้อเช้า จำนวน 20 คน x 80 บาท = 1,600 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 20 คน x 35 บาท x
2 มื้อ= 1,400 บาท - ค่าจ้างเหมารถตู้ปรับอากาศ 2 คัน x 2 วัน x 4,000 บาท= 16,000  บาท - ค่าที่พักจำนวน  20 คน x 1 คืน x 550 บาท= 11,000 บาท - ค่าเช่าห้องประชุม = 1,500 บาท - ค่าป้ายกิจกรรม 450 บาท                             รวมเป็นเงิน 46,350 บาท    26-27
มิ.ย..67 7.การควบคุมกำกับติดตามการดำเนินงานกอง ทุนหลักประกันสุขภาพ คณะกรรมการและเจ้าหน้าที่ติดตามผล 29 คน  ไม่ใช่งบประมาณ  21 พ.ค.67 8.กิจกรรมนำเสนอและสรุปผลงานกองทุนฯ  ผู้รับทุน 20 คน ไม่ใช่งบประมาณ  3 ก.ย.67 * ถัวเฉลี่ยค่าใช้จ่ายทุกรายการ  รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  115,350 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
16 ธันวาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ นับเป็นนวัตกรรมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทยในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยองค์กรปกครองท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพ และประสานหน่วยงานองค์กร และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผน และส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ ที่เกี่ยวกับการสร้างสุขภาพ การป้องกันโรคและฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ตลอดจนมีบทบาทในการติดตามผลดำเนินงานกองทุนให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ทั้งนี้ต้องมีการบูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเน้นที่การส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาความสามารถของชุมชนให้ยืนได้ด้วยตนเอง อันหมายถึงการสร้างสุขภาพโดยประชาชนแทนการซ่อมสุขภาพบริการ อันจะส่งผลให้ชุมชนเข้มแข็งในที่สุด     ดังนั้น เพื่อให้การบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลเรียง บรรลุวัตถุประสงค์ของกองทุนอย่างมีคุณภาพ และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการและพัฒนาระบบกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลเรียง ปีงบประมาณ 2568 ขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
115350.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 115,350.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1) คณะกรรมการมีความเข้าใจในแนวทางบริการกองทุนและสามารถดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ
2) ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพในชุมชนและโครงการแก้ไขปัญหาเป็นความต้องของชุมชนอย่างแท้จริง
3) เกิดการดำเนินงานอย่างบูรณาการและมีส่วนร่วมในหน่วยงานทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง


>