กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลและการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง รพ.สต.บ้านห้วยไทร

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานคนพิการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ตามที่รัฐบาลมีนโยบายปฏิรูปสุขภาพ โดยเน้นการทำงานเชิงรุกมากกว่าเชิงรับ ร่วมกับการดูแล ที่ต่อเนื่องเป็นองค์รวม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มผู้ป่วยระยะฟื้นฟู ผู้พิการ ซึ่งในอำเภอละงู ปีงบประมาณ 25๖7 มีจำนวนทั้งสิ้น 740 คน เป็นผู้พิการทางกายและการเคลื่อนไหว จำ

 

3.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมศักยภาพญาติและผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงให้มีความรู้และทักษะการฟื้นฟูผู้พิการติดบ้านติดเตียงที่ถูกต้อง ข้อที่ 2. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง ให้สามารถใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างปกติสุข

1 ญาติ/ผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงมีความรู้เรื่องการออกกำลังกายเพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพฯ ร้อยละ ๘๐ หลังการอบรม โดยวิธีการการถามตอบและทดสอบเชิงปฏิบัติ 2.ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงมีความรู้เรื่องการออกกำลังกายเพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพฯ และการเลือกใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมกับภาวะความพิการ ร้อยละ ๘๐

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.จัดทำป้ายชื่อโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง สำหรับติดในบริเวณที่จัดกิจกรรมทุกครั้ง ( 1.5 เมตร x 2.5 เมตร x 150 บาท = 563 บาท

ชื่อกิจกรรม
1.จัดทำป้ายชื่อโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง สำหรับติดในบริเวณที่จัดกิจกรรมทุกครั้ง ( 1.5 เมตร x 2.5 เมตร x 150 บาท = 563 บาท
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ประชุมทำความเข้าใจโครงการและจัดตั้งคณะทำงาน กลุ่มเป่าหมายคณะทำงาน 5 คน ประชุมครั้งที่ 1 -ค่าอาหารว่าง 1 มื้อ (มื้อละ 3๕ บาท) (มื้อที่๑ 35x5 = 175  บาท) = 175 บ. รวม  175 บาท

ประชุมครั้งที่ 2 -ค่าอาหารว่าง 1 มื้อ (มื้อละ 3๕ บาท) (มื้อที่๑ 35x5 = 175  บาท) = 175 บ. รวม  175 บาท

ประชุมครั้งที่ 3 -ค่าอาหารว่าง 1 มื้อ (มื้อละ 3๕ บาท) (มื้อที่๑ 35x5 = 175  บาท) = 175 บ. รวม  175 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2568 ถึง 30 มิถุนายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1088.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องพัฒนาคุณภาพชีวิตและการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง

ชื่อกิจกรรม
อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องพัฒนาคุณภาพชีวิตและการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมครั้งที่ 1 -ค่าอาหารกลางวัน 8๐ บ.x 55  คน
= 4,400 บ. -ค่าอาหารว่าง ๒ มื้อ (มื้อละ 3๕ บาท) (มื้อที่๑ 35x55 = 1,925  บาท) (มื้อที่๒ 35x55 = 1,925  บาท) = 3,85๐ บ. -ค่าสมนาคุณวิทยาการ(นักกายภาพบำบัด) 6๐๐บาท/ชม. X6 ชม./คน = 3,6๐๐ บ. -ค่ากระเป๋าผ้าสำหรับใส่เอกสารประกอบการอบรม ( 80x50 = 4,00๐  บาท) -ค่าเอกสารประกอบการอบรม ( 50x50 = 2,50๐  บาท) รวม  18,350 บาท

อบรมครั้งที่ 2 -ค่าอาหารกลางวัน 8๐ บ.x 55  คน
= 4,400 บ. -ค่าอาหารว่าง ๒ มื้อ (มื้อละ 3๕ บาท) (มื้อที่๑ 35x55 = 1,925  บาท) (มื้อที่๒ 35x55 = 1,925  บาท) = 3,85๐ บ. -ค่าสมนาคุณวิทยาการ(แพทย์แผนไทย) 6๐๐บาท/ชม. X2 ชม./คน = 1,2๐๐ บ. -ค่ายาหม่องไพร (50x50 = 2,50๐  บาท รวม  10,750 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
29100.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมติดตามฟื้นฟู

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมติดตามฟื้นฟู
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าอาหารกลางวัน 8๐ บ.x 55  คน
= 4,400 บ. -ค่าอาหารว่าง 2 มื้อ (มื้อละ 3๕ บาท) (มื้อที่๑ 35x55 = 1,925  บาท) (มื้อที่2 35x55 = 1,925  บาท) =3,85๐   บ. รวม  8,250 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8250.00

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมประเมินผลการรักษา

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมประเมินผลการรักษา
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมครั้งที่ 3 -ค่าอาหารกลางวัน 8๐ บ.x 55  คน
= 4,400 บ. -ค่าอาหารว่าง 2 มื้อ (มื้อละ 3๕ บาท) (มื้อที่๑ 35x55 = 1,925  บาท) (มื้อที่๒ 35x55 = 1,925  บาท) =3,85๐   บ. รวม  8,250 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2568 ถึง 30 มิถุนายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8250.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 46,688.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>