กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โรงเรียน RDU สร้างภูมิรู้สู่ชุมชน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

ฝ่ายเภสัชกรรม โรงพยาบาลยะหริ่ง

เขตเทศบาลตำบลยะหริ่ง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อสร้างความรอบรู้ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพแก่เด็กนักเรียนในชุมชน 2. เพื่อค้นหาปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาในห้องปฐมพยาบาล

1.ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมอบรม มีความรู้มากกว่าร้อยละ 80 ของแบบทดสอบ

0.00
2 2. เพื่อค้นหาปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาในห้องปฐมภูมิพยาบาล

2.ร้อยละ 50 ของปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาในห้องปฐมพยาบาลได้รับการแก้ไข

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 06/08/2025

กำหนดเสร็จ 30/09/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. พัฒนาองค์ความรู้ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพแก่เด็กนักเรียนในโรงเรียน

ชื่อกิจกรรม
1. พัฒนาองค์ความรู้ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพแก่เด็กนักเรียนในโรงเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.1 คัดเลือกโรงเรียนนำร่อง RDU ในชุมชน
1.2 ประชุมวางแผนการดำเนินงานร่วมกับผู้อำนวยการโรงเรียน , ตัวแทนครู และ อสม.RDU ในโรงเรียนนำร่อง RDU
กลุ่มเป้าหมาย : เภสัชกรปฐมภูมิและทีม PCU จำนวน 5 คน , อสม.RDU 5 คน
ตัวแทนครูในโรงเรียน จำนวน 5 คน และตัวแทนนักเรียนจำนวน 5 คน รวม 20 คน - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 20 คนๆละ 30 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 1,200 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน 20 คนๆละ 60 บาทเป็นเงิน 1,200 บาท
รวมเป็นเงิน 2,400 บาท
1.3 จัดทำสื่อประกอบการให้ความรู้ที่เหมาะสมกับเด็กนักเรียน
1.4 จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ผลิตภัณฑ์อย่างปลอดภัยแก่เด็กนักเรียนและผู้ปกครองที่สนใจเข้าร่วม
กลุ่มเป้าหมาย : เภสัชกรปฐมภูมิและทีม PCU จำนวน 5 คน , อสม.RDU 5 คน
ตัวแทนครูในโรงเรียน จำนวน 5 คน และตัวแทนนักเรียน จำนวน 50 คน รวม 65 คน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 65 คนๆละ 30 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 3,900 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน 65 คนๆละ 60 บาทเป็นเงิน 3,900 บาท
- ค่าภาพพลิกเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ เป็นเงิน 7,000 บาท
รวมเป็นเงิน14,800 บาท
1.5 จัดกิจกรรมการตรวจสอบเฝ้าระวังสารปลอมปนในผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยงด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น ได้แก่
ชุดทดสอบสเตียรอยด์เบื้องต้นในยาแผนโบราณ, ชุดทดสอบสารประกอบของปรอท , ชุดทดสอบสารไฮโดรควิโนนเบื้องต้นในเครื่องสำอาง
และชุดทดสอบโซเดียมในอาหาร เป็นต้น โดยนำตัวอย่างที่มีจริงในชุมชน สาธิตการตรวจให้นักเรียนเห็นจากของจริงและบอกต่อแก่คนในครอบครัว
- ค่าชุดทดสอบสารปลอมปนในผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น (Test kits)เป็นเงิน 6,000 บาท
รวมเป็นเงิน6,000 บาท
1.6 สรุป และประเมินผลการจัดกิจกรรม

ระยะเวลาดำเนินงาน
10 มิถุนายน 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. เครือข่าย RDU school เขตเทศบาลตำบลยะหริ่ง
  2. นักเรียนในโรงเรียน RDU นำร่องมีความรู้เกี่ยวกับการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่จำเป็นในชีวิตประจำวัน
  3. คณะครูและนักเรียนสามารถใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น เพื่อเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพไม่ปลอดภัยในชุมชนได้
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
23200.00

กิจกรรมที่ 2 2.พัฒนาห้องปฐมพยาบาลในโรงเรียนให้ได้ตามมาตรฐาน

ชื่อกิจกรรม
2.พัฒนาห้องปฐมพยาบาลในโรงเรียนให้ได้ตามมาตรฐาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

2.1 ประเมินห้องปฐมพยาบาลในโรงเรียนทุกแห่งในพื้นที่ตามเกณฑ์
2.2 ประชุมคืนข้อมูลแก่ผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่ ผู้อำนวยการโรงเรียน
ครูที่รับผิดชอบห้องปฐมพยาบาล เป็นต้น เพื่อหารือปัญหาและวางแผนพัฒนาตามบริบทของแต่ละโรงเรียน
กลุ่มเป้าหมาย เภสัชกรปฐมภูมิและทีม PCU จำนวน 5 คน , อสม.RDU 5 คน
ตัวแทนครูและนักเรียนในโรงเรียนเขตเทศบาลตำบลยะหริ่ง 3 แห่งๆละ 10 คน รวม 40 คน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 40 คนๆละ 30 บาท2 มื้อ3 รุ่นเป็นเงิน 2,400 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน 40 คนๆละ 60 บาท3 รุ่น เป็นเงิน 2,400 บาท
- ค่าจัดทำสื่อเกี่ยวกับการใช้ยาในห้องปฐมพยาบาล เป็นเงิน 4,000 บาท
รวมเป็นเงิน8,800 บาท
2.3 ติดตามการพัฒนาตามเกณฑ์ของแต่ละโรงเรียนในชุมชน
2.4 สรุปและประเมินผลการพัฒนา

ระยะเวลาดำเนินงาน
4 สิงหาคม 2568 ถึง 19 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ระบบยาในโรงเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐาน เกิดความปลอดภัยแก่เด็กนักเรียน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8800.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 32,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>