กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ เทศบาลตำบล นาทวี

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการในศูนย์พัฒนาการศึกษาปฐมวัย เทศบาลตำบลนาทวี

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

เทศบาลตำบล นาทวี

ศูนย์พัฒนาการศึกษาปฐมวัย (ศูนย์1,2) เทศบาลตำบลนาทวี

นายศุภสัณห์ หนูสวัสดิ์นายกเทศมนตรีตำบลนาทวี
นายนิพันธ์สุวรรณโน ปลัดเทศบาลตำบลนาทวี
นางสมพรไชยสวนแก้วผู้อำนวยการกองการศึกษา
นางสาวอัจฉราภรณ์หินเมืองเก่า หัวหน้าฝ่ายบริหารการศึกษา
นางกรรณิกา ศิริประภาหัวหน้าศูนย์พัฒนาการศึกษาปฐมวัย เทศบาลตำบลนาทวี

ศูนย์พัฒนาการศึกษาปฐมวัย (ศูนย์1,2) เทศบาลตำบลนาทวี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละพื้นที่เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน

พื้นที่เกษตรในศูนย์ฯ มีอยู่เดิมแต่ไม่ได้มีการจัดให้เป็นสัดส่วน และยังมีพื้นที่ว่างที่สามารถนำมาเพิ่มพื้นที่เกษตรได้

5.00
2 จำนวนโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่ใช้โปรแกรม Menu Thai School Lunch

โรงครัวเป็นครัวกลางในการประกอบปรุงอาหารกลางวัน

2.00
3 ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม

อัตราการบริโภคผักคิดเป็นร้อยละ 41.10 จากจำนวนนักเรียนทั้งหมด โดยมีอัตราการบิโภค 14.3 กรัม/คน/วัน(1.5 ช้อนโต๊ะ)

41.10
4 ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน 6 ชนิด มีสารเคมีตกค้างในอาหาร

พบสารฟอกขาวจากผัดสดในตลาดสดเทศบาลตำบลนาทวี ที่เป็นวัตถุดิบในการประกอบปรุงอาหาร

1.66
5 ภาวะโภชนการในเด็กอายุ 2-3 ปี

เด็กทั้งหมดจำนวน 134 คน พบภาวะโภชนาการต่ำจำนวน 12 คน ภาวะโภชนาการเกิน 16 คน

20.89

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มสัดส่วนพื้นที่เกษตรอินทรีย์ปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน

ร้อยละพื้นที่เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในศูนย์พํฒนาการศึกษาการปฐมวัย เทศบาลตำบลนาทวี เพิ่มขึ้น

5.00 10.00
2 ลดการปนเปื้อนสารเคมีในอาหาร

ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน 6ชนิด มีสารเคมีตกค้างในอาหาร ลดลงเหลือ

1.66 0.00
3 เพิ่มการกินผัก ผลไม้ ของคนในชุมชน

ร้อยละของคนในศูนย์พัฒนาการศึกษาปฐมวัยที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม เพิ่มขึ้น จากเดิมร้อยละ 41.10
และอัตราการบริโภคต่อคนต่อวัน จาก 14.3 กรัม(1.5 ชต.) เป็น 25 กรัม(2.5ชต. ) ต่อคนต่อวัน

41.10 60.00
4 พัฒนาศักยภาพครู และผู้ประกอบปรุงอาหาร

มีความรู้ ความเข้าใจในการประกอบปรุงอาหารกลางวันตามหลักโภชนาการเพิ่มขึ้นร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย

10.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 134
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่มครูและผู้ประกอบปรุงอาหารกลางวัน 10

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 16/05/2018

กำหนดเสร็จ 15/05/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ส่งเสริมการผลิตอาหารในศูนย์พัฒนาการศึกษาปฐมวัย

ชื่อกิจกรรม
ส่งเสริมการผลิตอาหารในศูนย์พัฒนาการศึกษาปฐมวัย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.เพิ่มพื้นที่การปลูกผักปลอดสารพิษ โดยปรับสภาพพื้นที่เดิมให้เป็นระเบียบ และเพิ่มพื้นที่ปลูกผักให้มากขึ้นจากเดิมร้อยละ 5 เป็นเงินจำนวน 5,000 บาท (เป็นค่าพันธุ์พีช,ปุ๋ย และวัสดุอื่นๆ) 2.สร้างโรงเลี้ยงไก่ไข่ จำนวน 20 ตัวเป็นเงิน 10,000 บาท(เป็นค่าจัดทำโรงเรือน และค่าพันธุ์ไก่ไข่) โดยการมีส่่วนร่วมของครู เด็ก และผู้ปกครอง และความร่วมมือจากสำนักงานการเกษตรอำเภอนาทวี และสำนักงานปศุสัตว์อำเภอนาทวี ใช้ช่วงเวลาก่อนเลิกเรียน(ลดเวลาเรียน เพื่มเวลารู้)

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เพื่อนำผลผลิตที่ได้(ผักปลอดสารพิษ,ไข่ไก่,เนื้อไก่) ไปประกอบปรุงอาหารกลางวันให้เพียงพอ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15000.00

กิจกรรมที่ 2 ชวนน้องกินผัก เพิ่มรัก ลดโรค

ชื่อกิจกรรม
ชวนน้องกินผัก เพิ่มรัก ลดโรค
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดกิจกรรมรณรงค์สร้างกระแส ให้ความรู้ สาธิตเมนูอาหารจากผัก เพื่อเพิ่มอัตราการกินผัก เป็นร้อยละ 60 (เดิม 41.10) และมีสัดส่วนการบริโภคผักต่อคนต่อวันเพิ่มขึ้นจาก 1.5 ชต. เป็น 2.5 ชต. เป็นโดยการมีส่วนร่วมของครู เด็ก และผู้ปกครอง จำนวน 134 คนเป็นเงิน 5,000 บาท จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ สื่อความรู้ ป้ายไวนิล เป็นเงิน 5,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เด็กมีอัตราการบริโภคผักมากขึ้นในศูนย์ฯรวมทั้งผูัปกครองมีความเข้าใจในการส่งเสริมการกินผักในครัวเรือนเพิ่มขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10000.00

กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพครูโภชนาการ ผู้ประกอบปรุงอาหารกลางวัน

ชื่อกิจกรรม
อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพครูโภชนาการ ผู้ประกอบปรุงอาหารกลางวัน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่ครู และผู้ประกอบปรุงอาหารกลางวัน จำนวน 10 คน ให้มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการประกอบปรุงอาหารตามหลักโภชนาการสมวัย โดยความร่วมมือจากโรงพยาบาลสมเด็จฯ จัดอบรมทั้งภาคทฏษฎี และภาคปฏิบัติ รวมทั้งการใช้โปรแกรม Thai School Lunch ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีเมนูอาหารกลางวันสำหรับเด็กที่สะอาด ปลอดภัย เหมาะสมตามช่วงวัย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 30,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.มีแหล่งอาหารที่ปลอดภัย ในการประกอบปรุงอาหารกลางวันที่เหมาะสมตามหลักโภชนาการในศูนย์พัฒนาการศึกษาปฐมวัย
2.มีการบริโภคผักปลอดสารพิษเพิ่มมากขึ้น
3.มีภาวะโภชนาการที่สมวัย
4.นำไปสู่การปฏิบัติในระดับครัวเรือน
5.เป็นศูนย์การเรียนรู้สู่ชุมชน


>