กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ องค์การบริหารส่วนตำบล ทุ่งพอ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

เกษตรผสมผสานในสวนยางพารา ตำบลทุ่งพอ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

องค์การบริหารส่วนตำบล ทุ่งพอ

สำนักงานปลัด อบต.ทุ่งพอ/นวก.เกษตร

พื้นที่ตำบลทุ่งพอ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว , แผนงานขยะ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละพื้นที่เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน

 

30.00
2 ร้อยละพื้นที่ผลิตอาหาร (ข้าว ผัก ผลไม้) ต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมด

 

40.00
3 ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือด เกินมาตรฐานความปลอดภัย

 

5.00
4 ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม

 

60.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มสัดส่วนพื้นที่เกษตรอินทรีย์ปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน

ร้อยละพื้นที่เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน เพิ่มขึ้น

30.00 45.00
2 ลดสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร

ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือด เกินมาตรฐานความปลอดภัย ลดลงเหลือ

5.00 3.00
3 เพิ่มพื้นที่ผลิตอาหาร (ข้าว ผัก ผลไม้)

ร้อยละพื้นที่ผลิตอาหาร (ข้าว ผัก ผลไม้) ต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมด

40.00 45.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 10
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ 10
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 03/12/2018

กำหนดเสร็จ 30/09/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • รับสมัครครัวเรือน หมู่บ้านละ ๒ ครัวเรือน โดยการประชุมประชาคมผู้นำในพื้นที่
  • อบรมให้ความรู้เรื่องการทำเกษตรผสมผสาน/หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยวิทยากรจากเกษตรอำเภอ/ปราชญ์ชาวบ้าน โดยใช้ห้องประชุมสภา อบต.ทุ่งพอ และอาคารเอนกประสงค์ หมู่ที่ ๓
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต - ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้การจัดเกษตรผสมผสานตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน35 คน

ผลลัพธ์

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8000.00

กิจกรรมที่ 2 สำรวจข้อมูลพื้นที่เกษตรในตำบลทุ่งพอ

ชื่อกิจกรรม
สำรวจข้อมูลพื้นที่เกษตรในตำบลทุ่งพอ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

๑.คณะทำงานศึกษาข้อมูลการทำเกษตรของตำบลทุ่งพอโดยใช้แหล่งข้อมูลจากเกษตรอำเภอ
๒.จัดทำแบบสอบถามเพื่อเก็บข้อมูลเกษตรกรที่สนใจเข้าร่วมโครงการ จำนวน ๑๖ ครัวเรือน โดย คณะทำงานโครงการที่ได้จัดตั้งขึ้นร่วมกับสภาเด็กและเยาวชน ๓.คณะทำงานโครงการที่ได้จัดตั้งขึ้นร่วมกับสภาเด็กและเยาวชนลงพื้นที่เก็บข้อมูล เป็ยเวลา ๒ วัน ๔.คณะทำงานโครงการที่ได้จัดตั้งขึ้นร่วมกับเกษตรอำเภอในการวิคราะห์ข้อมูล ๕.จัดการประชุมผู้เข้าร่วมโครงการเพื่อคืนข้อมูลที่ได้จากการสำรวจ

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

๑.เกิดข้อมูลการทำเกษตรของเกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการ ๒.เด็กและเยาวชนที่ร่วมสำรวจข้อมูลได้เรียนรู้วิถีชีวิตของคนในชุมชน ๓.เกิดความร่วมมือ สามัคคีกันในกลุ่ม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1000.00

กิจกรรมที่ 3 จัดตั้งกลุ่มเกษตรกร เกษตรผสมผสาน

ชื่อกิจกรรม
จัดตั้งกลุ่มเกษตรกร เกษตรผสมผสาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • จัดตั้งกลุ่มเกษตรกรเกษตรผสมผสาน จำนวน ๑๖ ครัวเรือน
  • มีการกำหนดมาตราการ กฎเกณฑ์ หลักปฏิบัติของกลุ่ม
  • กิจกรรมลงเยี่ยมแปลง/พื้นที่ดำเนินการของสมาชิก เดือนละ ๑ ครั้งหรือตามความเหมาะสม ไม่น้อยกว่า ๕ ครั้ง
  • มีการประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ของแต่ละครัวเรือน
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • เกิดกลุ่มเกษตรกรต้นแบบของตำบลทุ่งพอ
  • เกิดพื้นที่เกษตรผสมผสานเพิ่มขึ้นในตำบล
  • เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของเกษตรกรภายในกลุ่ม
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8000.00

กิจกรรมที่ 4 สนับสนุนปัจจัยการผลิตกับเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ

ชื่อกิจกรรม
สนับสนุนปัจจัยการผลิตกับเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • สนับสนุนต้นผักเหรียง พืชกินใบเมล็กพันธุ์ผัก เพื่อปลูกในแปลงยางพารา ลดการปลูกพืชเชิงเดี่ยว
  • สนับสนุนพันธุ์สัตว์ เช่น ไก่พันธุ์พื้นเมือง ไก่ไข่ พันธุ์ปลา
  • สนับสนุนหัวเชื้อ อีเอ็ม ในการผลิตปุ่ยหมัก นำ้หมัก
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าร่วมอบรมรับพันธุ์พืช/พันธ์สัตว์ และวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องไปดำเนินการตามที่ได้เรียนรู้มา

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
32000.00

กิจกรรมที่ 5 ถอดบทเรียนการดำเนินโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ถอดบทเรียนการดำเนินโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • จัดประชุมถอดบทเรียนเกษตกรทั้ง16ครอบครัว และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เกษตรอำเภอ ตัวแทนชุมชน ปราชญ์ชุมชน ท้องถิ่น สภาเด็ก และเยาวชน จำนวน 1ครั้ง โดยมีวิทยากรกระบวนการจากหน่วยงานเกษตรอำเภอ
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • เกิดเกษตรกรต้นแบบ การทำเกษตรผสมผสาน ร้อยละ 80
  • เห็นถึงปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินโครงการ
  • ได้รู้ถึงวิธีการแก้ไขปัญหาด้านต่างๆที่เกิดขึ้น
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 54,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑.เกษตรกรมีความรู้ในการทำการเกษตรผสมผสาน
๒.ประชาชนมีการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวิตประจำวัน
๓.เกิดรายได้แก่เกษตรกร
๔.มีความมั่นคงทางอาหาร ในแปลงเกษตรมีการปลูกพืชหมุนเวียน เช่น
๕.สามารถลดสารเคมีในการเกษตร


>