กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังมะปราง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเฝ้าระวังควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคฉี่หนู ( Leptospirosis )

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังมะปราง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสะพานเคียน

พื้นที่รับผิดชอบ รพ.สต. บ้านสะพานเคียน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 โรคเล็บโตสไปโรซีส(ฉี่หนุ)

 

2.00

สถานการณ์โรคเล็ปโตสไปโรซีส(ฉี่หนู)ของจังหวัดตรัง ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 31 ธันวาคม 2561 จากรายงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา (รง.506)สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง ได้รับรายงานผู้ป่วยโรคเล็บโตสไปโรซีส(ฉี่หนุ) จำนวน 138 รายมีรายงานอัตราป่วยโรคโรคเล็บโตสไปโรซีส(ฉี่หนุ) อำเภอวังวิเศษ รับรายงานผู้ป่วยโรคเล็บโตสไปโรซีส(ฉี่หนุ) จำนวน 18 ราย ตำบลวังมะปราง รพสต.บ้านสะพานเคียน รับรายงานผู้ป่วยโรคเล็บโตสไปโรซีส(ฉี่หนุ) จำนวน 2 ราย

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อลดอัตราการป่วยและเสียชีวิตจากโรคฉี่หนู ( Leptospirosis )
  1. อัตราป่วยด้วยโรคฉี่หนู ( Leptospirosis )ลดลงน้อยกว่าค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง ร้อยละ 4 2.ร้อยละ 95 ของประชาชนมีความรู้เรื่องโรคฉี่หนู ( Leptospirosis )
2.00 1.00
2 2. เพื่อให้ความรู้ประชาชนเรื่องโรคฉี่หนู ( Leptospirosis )
  1. อัตราป่วยด้วยโรคฉี่หนู ( Leptospirosis )ลดลงน้อยกว่าค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง ร้อยละ 4 2.ร้อยละ 95 ของประชาชนมีความรู้เรื่องโรคฉี่หนู ( Leptospirosis )
2.00 1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,496
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 15/03/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1.ประชุมทีมเตรียมความพร้อมในการควบคุมโรคฉี่หนู ( Leptospirosis )

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1.ประชุมทีมเตรียมความพร้อมในการควบคุมโรคฉี่หนู ( Leptospirosis )
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุมแกนนำ อสม. จำนวน 80 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน2,000บาท

    รวมเป็นเงิน2,000บาทI

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. อัตราป่วยด้วยโรคฉี่หนู ( Leptospirosis )ลดลงน้อยกว่าค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง ร้อยละ 4 2.ร้อยละ 95 ของประชาชนมีความรู้เรื่องโรคฉี่หนู ( Leptospirosis )
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2000.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 2 รณรงค์ประชาสัมพันธ์ 1.รณรงค์ประชาสัมพันธ์

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2 รณรงค์ประชาสัมพันธ์ 1.รณรงค์ประชาสัมพันธ์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าไวนิลประชาสัมพันธ์ ขนาด 1 x 3 เมตร  จำนวน 10 แผ่นๆละ 450 บาท  เป็นเงิน  4,500  บาท 2. ค่าถ่ายเอกสารแผ่นพับความรู้เรื่อง เล็ปโตสไปโรซิส(หน้า-หลัง) จำนวน 700 ฉบับๆละ 1 บาท เป็นเงิน 700 บาท 3. ค่าถ่ายเอกสารแบบคัดกรองโรคเล็ปโตสไปโรซิสจำนวน 1,000 ฉบับๆละ 0.5 บาท เป็นเงิน  500 บาท 4. ค่ารถแห่ประชาสัมพันธ์ จำนวน 1 คัน จำนวน 1 วันๆละ 1,000 บาท เป็นเงิน  1,000  บาท
       รวมเป็นเงิน  6,700  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6700.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 8,700.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคฉี่หนู ( Leptospirosis )และสามารถป้องกันตนเองจากฉี่หนู ( Leptospirosis )กำจัดพาหะนำโรคได้ด้วยตนเอง
2.สามารถลดอัตราป่วยและเสียชีวิตจากฉี่หนู( Leptospirosis ) ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านสะพานเคียน


>